บริการให้คำปรึกษารับยื่นวีซ่าประเทศอัฟกานิสถาน
Afghanistan Visa Service in Thailand
Afghanistan Visa Service in Thailand
NYC Visa Service มีประสบการณ์ในการทำวีซ่าประเทศอัฟกานิสถาน มาเป็นเวลามากกว่ากว่าสิบปี โดยมีผู้เชี่ยวชาญคอยให้บริการคำปรึกษาท่านตลอดเวลาไม่ว่าจะเป็นวีซ่าท่องเที่ยวประเทศอัฟกานิสถาน วีซ่าเยี่ยมญาติประเทศอัฟกานิสถาน วีซ่าเยี่ยมเพื่อนประเทศอัฟกานิสถาน วีซ่านักเรียนประเทศอัฟกานิสถาน วีซ่าถาวรประเทศอัฟกานิสถาน วีซ่าแต่งงานประเทศอัฟกานิสถาน วีซ่าคู่หมั้นประเทศอัฟกานิสถาน วีซ่าย้ายถิ่นฐานประเทศอัฟกานิสถาน วีซ่าติดตามประเทศอัฟกานิสถาน วีซ่าทำงานประเทศอัฟกานิสถาน วีซ่าดูงานประเทศอัฟกานิสถาน วีซ่าฝึกงานประเทศอัฟกานิสถาน วีซ่าธุรกิจประเทศอัฟกานิสถาน นอกจากนี้ยังมีบริการแปลเอกสารต่างๆ ทุกประเภท นอกจากนี้เรามีบริการให้คำปรึกษาในการยื่นขอวีซ่า วิเคราะห์ปัญหาของผู้ต้องการยื่นวีซ่า ประเมินโอกาสในการยื่นขอวีซ่าของท่านให้มีการดำเนินการอย่างถูกต้องและเพื่อให้มีความสอดคล้องกับสถานการณ์ของผู้ขอยื่นวีซ่า และเพื่อให้ลูกค้าทุกท่านที่เข้ามาใช้บริการเราได้รับความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น เรายังมีบริการเป็นตัวแทนยื่นขอวีซ่าให้กับท่าน เป็นตัวแทนไปรับวีซ่าแทนท่าน และบริการจัดส่งเอกสารสำหรับท่านที่อยู่ต่างจังหวัดอีกด้วย
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ NYC Visa Service ซึ่งเป็นเชี่ยวชาญให้บริการทางด้านรับทำวีซ่าและกฎหมายการตรวจคนเข้าเมืองโดยตรงของประเทศอัฟกานิสถาน (Afghanistan Visa Service in Thailand) เราเปิดให้บริการ รับปรึกษา รับยื่น รับทำ รับยื่นแก้วีซ่าไม่ผ่านทุกประเทศทั่วโลก เพื่อช่วยเหลือทุกท่านให้ได้รับวีซ่าได้ตามต้องการการ กับประเทศที่ต้องการจะเดินทาง จน NYC Visa Service ได้รับความสำเร็จอย่างสูงในการได้รับอนุมัติวีซ่าของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก เนื่องจากทางเรามีบริการหลากหลายรูปแบบไว้อำนวยความสะดวกแก่ท่าน มีทีมงานมืออาชีพ เราเปิดให้บริการมายาวนานมากกว่า12 ปี และมีศูนย์บริการอยู่ทั่วประเทศมากถึง 12 ศูนย์ และยังมีการขยายงานเปิดศูนย์เพิ่มเติมทั่วประเทศเพื่อเข้าถึงกลุ่มลูกค้าที่ต้องการใช้บริการ เราเป็นตัวกลางในการยื่นของวีซ่ากับสถานทูตแต่ล่ะประเทศ สำหรับทุกท่านที่พบปัญหา เพื่อช่วยให้ท่านเข้าใจรูปแบบปัญหาที่จะเกิดขึ้นทั้งหมด จึงทำให้ท่านประหยัดเวลา รวมไปถึงความแน่นอนในการได้รับวีซ่า
จากการที่ NYC Visa Service มีความชำนาญในเรื่องกฎหมายตรวจคนเข้าเมืองของประเทศอัฟกานิสถาน (Afghanistan Visa Service in Thailand) จึงทำให้ได้รับการอนุมัติวีซ่าเร็วและง่ายขึ้น จึงพร้อมดำเนินการให้แก่ท่าน ตั้งแต่จัดเตรียมเอกสาร ประเมินแนะนำขั้นตอน พร้อมแก้ปัญหาที่จะเกิด การเตรียมตัว รวมไปถึงดูแลยื่นเอกสารที่สถานทูตในแต่ล่ะประเทศ ถ้าคุณเป็นคนหนึ่งที่อยากเดินทางไปต่างประเทศ ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใด ๆ และไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นอย่างไร เราสามารถให้คำปรึกษา และบริการยื่นวีซ่าให้คุณได้
NYC Visa Service เป็นบริษัทที่รับทำวีซ่าทุกประเภท อาทิ เชงเก้นวีซ่า (Schengen visa), วีซ่าประเทศอเมริกา วีซ่าประเทศอังกฤษ วีซ่าประเทศออสเตรเลีย วีซ่าประเทศฝรั่งเศส วีซ่าประเทศสวีเดน วีซ่าประเทศเยอรมัน วีซ่าประเทศอิตาลี วีซ่าประเทศนิวซีแลนด์ วีซ่าประเทศนอร์เวย์ วีซ่าประเทศฟินแลนด์ วีซ่าประเทศออสเตรีย วีซ่าสเปน วีซ่าประเทศเดนมาร์ วีซ่าประเทศเนเธอร์แลนด์ วีซ่าประเทศโปแลนด์ วีซ่าประเทศฟินแลนด์ รับยื่นวีซ่าประเทศนอร์เวย์ รับยื่นวีซ่าประเทศเบลเยียม รับยื่นวีซ่าประเทศโปรตุเกส รับยื่นวีซ่าประเทศกรีซ รับยื่นวีซ่าประเทศโครเอเชีย รับยื่นวีซ่าประเทศเช็ก รับยื่นวีซ่าประเทศฟินแลนด์ รับยื่นวีซ่าประเทศมอลโดวา รับยื่นวีซ่าประเทศมอลตา รับยื่นวีซ่าประเทศมาซิโดเนีย รับยื่นวีซ่าประเทศยูเครน รับยื่นวีซ่าประเทศรัสเซีย รับยื่นวีซ่าประเทศโรมาเนีย รับยื่นวีซ่าประเทศลักเซมเบิร์กรับยื่นวีซ่าประเทศลัตเวีย รับยื่นวีซ่าประเทศลิทัวเนีย รับยื่นวีซ่าประเทศสวิตเซอร์แลนด์ รับยื่นวีซ่าประเทศสวีเดน รับยื่นวีซ่าประเทศออสเตรีย รับยื่นวีซ่าประเทศอิตาลี รับยื่นวีซ่าประเทศไอซ์แลนด์ รับยื่นวีซ่าประเทศไอร์แลนด์ รับยื่นวีซ่าประเทศฮังการี วีซ่าอัฟกานิสถาน (Afghanistan Visa Service in Thailand) เป็นต้น นอกจากนี้เรายังมีบริการรับแปลเอกสาร บริการรับรองเอกสารภาษาอื่น ๆ บริการประกันการเดินทาง และบริการอื่น ๆ อีกมากมาย
NYC Visa Service มีประสบการณ์ในการทำวีซ่ามาเป็นเวลามากกว่ากว่าสิบปี โดยมีผู้เชี่ยวชาญคอยให้บริการคำปรึกษาท่านตลอดเวลาไม่ว่าจะเป็นวีซ่าท่องเที่ยว วีซ่าเยี่ยมญาติ วีซ่าเยี่ยมเพื่อน วีซ่านักเรียน วีซ่าถาวร วีซ่าแต่งงาน วีซ่าคู่หมั้น วีซ่าย้ายถิ่นฐาน วีซ่าติดตาม วีซ่าทำงาน วีซ่าดูงาน วีซ่าฝึกงาน วีซ่าธุรกิจ ประเทศอัฟกานิสถาน (Afghanistan Visa Service in Thailand) นอกจากนี้ยังมีบริการแปลเอกสารต่าง ๆ ทุกประเภท นอกจากนี้เรามีบริการให้คำปรึกษาในการยื่นขอวีซ่า วิเคราะห์ปัญหาของผู้ต้องการยื่นวีซ่า ประเมินโอกาสในการยื่นขอวีซ่าของท่านให้มีการดำเนินการอย่างถูกต้องและเพื่อให้มีความสอดคล้องกับสถานการณ์ของผู้ขอยื่นวีซ่า และเพื่อให้ลูกค้าทุกท่านที่เข้ามาใช้บริการเราได้รับความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น เรายังมีบริการเป็นตัวแทนยื่นขอวีซ่าให้กับท่าน เป็นตัวแทนไปรับวีซ่าแทนท่าน และบริการจัดส่งเอกสารสำหรับท่านที่อยู่ต่างจังหวัดอีกด้วย ให้ NYC Visa Service ของเราเป็นส่วนหนึ่งในการดูแลการดำเนินการขอยื่นวีซ่าอัฟกานิสถาน (Afghanistan Visa Service in Thailand) ของท่าน ทีมงานของเราจะดูแลตั้งแต่ปัญหาพื้นฐาน การจัดเตรียมเอกสาร เป็นตัวแทนเพื่อยื่นขอวีซ่าของคุณ เราจะดูแลและติดตามผลหลังการให้บริการอย่างดีที่สุด
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ NYC Visa Service ซึ่งเป็นเชี่ยวชาญให้บริการทางด้านรับทำวีซ่าและกฎหมายการตรวจคนเข้าเมืองโดยตรงของประเทศอัฟกานิสถาน (Afghanistan Visa Service in Thailand) เราเปิดให้บริการ รับปรึกษา รับยื่น รับทำ รับยื่นแก้วีซ่าไม่ผ่านทุกประเทศทั่วโลก เพื่อช่วยเหลือทุกท่านให้ได้รับวีซ่าได้ตามต้องการการ กับประเทศที่ต้องการจะเดินทาง จน NYC Visa Service ได้รับความสำเร็จอย่างสูงในการได้รับอนุมัติวีซ่าของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก เนื่องจากทางเรามีบริการหลากหลายรูปแบบไว้อำนวยความสะดวกแก่ท่าน มีทีมงานมืออาชีพ เราเปิดให้บริการมายาวนานมากกว่า12 ปี และมีศูนย์บริการอยู่ทั่วประเทศมากถึง 12 ศูนย์ และยังมีการขยายงานเปิดศูนย์เพิ่มเติมทั่วประเทศเพื่อเข้าถึงกลุ่มลูกค้าที่ต้องการใช้บริการ เราเป็นตัวกลางในการยื่นของวีซ่ากับสถานทูตแต่ล่ะประเทศ สำหรับทุกท่านที่พบปัญหา เพื่อช่วยให้ท่านเข้าใจรูปแบบปัญหาที่จะเกิดขึ้นทั้งหมด จึงทำให้ท่านประหยัดเวลา รวมไปถึงความแน่นอนในการได้รับวีซ่า
จากการที่ NYC Visa Service มีความชำนาญในเรื่องกฎหมายตรวจคนเข้าเมืองของประเทศอัฟกานิสถาน (Afghanistan Visa Service in Thailand) จึงทำให้ได้รับการอนุมัติวีซ่าเร็วและง่ายขึ้น จึงพร้อมดำเนินการให้แก่ท่าน ตั้งแต่จัดเตรียมเอกสาร ประเมินแนะนำขั้นตอน พร้อมแก้ปัญหาที่จะเกิด การเตรียมตัว รวมไปถึงดูแลยื่นเอกสารที่สถานทูตในแต่ล่ะประเทศ ถ้าคุณเป็นคนหนึ่งที่อยากเดินทางไปต่างประเทศ ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใด ๆ และไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นอย่างไร เราสามารถให้คำปรึกษา และบริการยื่นวีซ่าให้คุณได้
NYC Visa Service เป็นบริษัทที่รับทำวีซ่าทุกประเภท อาทิ เชงเก้นวีซ่า (Schengen visa), วีซ่าประเทศอเมริกา วีซ่าประเทศอังกฤษ วีซ่าประเทศออสเตรเลีย วีซ่าประเทศฝรั่งเศส วีซ่าประเทศสวีเดน วีซ่าประเทศเยอรมัน วีซ่าประเทศอิตาลี วีซ่าประเทศนิวซีแลนด์ วีซ่าประเทศนอร์เวย์ วีซ่าประเทศฟินแลนด์ วีซ่าประเทศออสเตรีย วีซ่าสเปน วีซ่าประเทศเดนมาร์ วีซ่าประเทศเนเธอร์แลนด์ วีซ่าประเทศโปแลนด์ วีซ่าประเทศฟินแลนด์ รับยื่นวีซ่าประเทศนอร์เวย์ รับยื่นวีซ่าประเทศเบลเยียม รับยื่นวีซ่าประเทศโปรตุเกส รับยื่นวีซ่าประเทศกรีซ รับยื่นวีซ่าประเทศโครเอเชีย รับยื่นวีซ่าประเทศเช็ก รับยื่นวีซ่าประเทศฟินแลนด์ รับยื่นวีซ่าประเทศมอลโดวา รับยื่นวีซ่าประเทศมอลตา รับยื่นวีซ่าประเทศมาซิโดเนีย รับยื่นวีซ่าประเทศยูเครน รับยื่นวีซ่าประเทศรัสเซีย รับยื่นวีซ่าประเทศโรมาเนีย รับยื่นวีซ่าประเทศลักเซมเบิร์กรับยื่นวีซ่าประเทศลัตเวีย รับยื่นวีซ่าประเทศลิทัวเนีย รับยื่นวีซ่าประเทศสวิตเซอร์แลนด์ รับยื่นวีซ่าประเทศสวีเดน รับยื่นวีซ่าประเทศออสเตรีย รับยื่นวีซ่าประเทศอิตาลี รับยื่นวีซ่าประเทศไอซ์แลนด์ รับยื่นวีซ่าประเทศไอร์แลนด์ รับยื่นวีซ่าประเทศฮังการี วีซ่าอัฟกานิสถาน (Afghanistan Visa Service in Thailand) เป็นต้น นอกจากนี้เรายังมีบริการรับแปลเอกสาร บริการรับรองเอกสารภาษาอื่น ๆ บริการประกันการเดินทาง และบริการอื่น ๆ อีกมากมาย
NYC Visa Service มีประสบการณ์ในการทำวีซ่ามาเป็นเวลามากกว่ากว่าสิบปี โดยมีผู้เชี่ยวชาญคอยให้บริการคำปรึกษาท่านตลอดเวลาไม่ว่าจะเป็นวีซ่าท่องเที่ยว วีซ่าเยี่ยมญาติ วีซ่าเยี่ยมเพื่อน วีซ่านักเรียน วีซ่าถาวร วีซ่าแต่งงาน วีซ่าคู่หมั้น วีซ่าย้ายถิ่นฐาน วีซ่าติดตาม วีซ่าทำงาน วีซ่าดูงาน วีซ่าฝึกงาน วีซ่าธุรกิจ ประเทศอัฟกานิสถาน (Afghanistan Visa Service in Thailand) นอกจากนี้ยังมีบริการแปลเอกสารต่าง ๆ ทุกประเภท นอกจากนี้เรามีบริการให้คำปรึกษาในการยื่นขอวีซ่า วิเคราะห์ปัญหาของผู้ต้องการยื่นวีซ่า ประเมินโอกาสในการยื่นขอวีซ่าของท่านให้มีการดำเนินการอย่างถูกต้องและเพื่อให้มีความสอดคล้องกับสถานการณ์ของผู้ขอยื่นวีซ่า และเพื่อให้ลูกค้าทุกท่านที่เข้ามาใช้บริการเราได้รับความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น เรายังมีบริการเป็นตัวแทนยื่นขอวีซ่าให้กับท่าน เป็นตัวแทนไปรับวีซ่าแทนท่าน และบริการจัดส่งเอกสารสำหรับท่านที่อยู่ต่างจังหวัดอีกด้วย ให้ NYC Visa Service ของเราเป็นส่วนหนึ่งในการดูแลการดำเนินการขอยื่นวีซ่าอัฟกานิสถาน (Afghanistan Visa Service in Thailand) ของท่าน ทีมงานของเราจะดูแลตั้งแต่ปัญหาพื้นฐาน การจัดเตรียมเอกสาร เป็นตัวแทนเพื่อยื่นขอวีซ่าของคุณ เราจะดูแลและติดตามผลหลังการให้บริการอย่างดีที่สุด
ประเทศเวียดนามจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไบยังการนำทางไปยังการค้นหา
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam (เวียดนาม)
ธงชาติตราแผ่นดิน
คำขวัญ: Độc lập – Tự do – Hạnh phúc ดกเหฺลิบ ตึซอ หั่ญฟุก (เหนือ) ดกเหฺลิบ ตึยอ หั่ญฟุก (ใต้)
("เอกราช อิสรภาพ ความสุข")
เพลงชาติ: มาร์ชทหารเวียดนาม
(Tiến Quân Ca)[N 1]
MENU
0:00
ที่ตั้งของ ประเทศเวียดนาม (เขียว)ในอาเซียน (เทาเข้ม) — [คำอธิบายสัญลักษณ์]
เมืองหลวงฮานอย
21°2′N 105°51′E
เมืองใหญ่สุดนครโฮจิมินห์
ภาษาราชการภาษาเวียดนาม
การปกครองคอมมิวนิสต์
• ประธานาธิบดีเหงียน ฟู้ จ่อง
• นายกรัฐมนตรีเหงียน ซวน ฟุก
• ประธานสมัชชาแห่งชาติเวียดนามเหงียน ถิ กีม เงิน
เอกราชจาก ฝรั่งเศส
• ประกาศ2 กันยายน พ.ศ. 2488[1]
• เป็นที่ยอมรับพ.ศ. 2497
พื้นที่
• รวม331,689 ตร.กม. (65)
128,065 ตร.ไมล์
• แหล่งน้ำ (%)1.3 [2]
ประชากร
• 1 กรกฎาคม 2560 (ประเมิน)93,700,000 [3] (13)
• ความหนาแน่น272 คน/ตร.กม. (46)
703 คน/ตร.ไมล์
จีดีพี (อำนาจซื้อ)2559 (ประมาณ)
• รวม$ 753.902 พันล้าน
• ต่อหัว$ 6,994
จีดีพี (ราคาตลาด)2559 (ประมาณ)
• รวม$ 263 พันล้าน
• ต่อหัว$ 2,280
จีนี (2557)34.8[4]
HDI (2559) 0.694 (ปานกลาง) (115th)
สกุลเงินด่อง (₫)[5] (VND)
เขตเวลา(UTC+7)
• ฤดูร้อน (DST) (UTC+7)
ขับรถด้านขวามือ
โดเมนบนสุด.vn
รหัสโทรศัพท์84เวียดนาม (เวียดนาม: Việt Nam [viət˨ nam˧] เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม(เวียดนาม: Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีประชากรประมาณ 94.6 ล้านคนใน พ.ศ. 2559 ทำให้มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลกและมากเป็นอันดับ 9 ของเอเชีย มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ อ่าวไทย ทางทิศตะวันออกและใต้ [a] มีเมืองหลวงชื่อฮานอยตั้งแต่เวียดนามเหนือและใต้รวมกันใน พ.ศ. 2519 เมืองใหญ่สุดในประเทศคือนครโฮจิมินห์
ทางเหนือของเวียดนามเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิจีนกว่าพันปี ตั้งแต่ 111 ปีก่อนคริสต์ศักราชถึง ค.ศ. 939 รัฐแรกเริ่มของเวียดนามก่อตั้งขึ้นเมื่อประมาณปี 939 หลังเวียดนามชนัจีนในยุทธนาวีแม่น้ำบักดั่ง เวียดนามและจักรพรรดิเวียดนามก็เจริญรุ่งเรืองและเริ่มแผ่ขยายอิทธิพลเข้าไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนกระทั่งตกเป็นอินโดจีนของฝรั่งเศสของฝรั่งเศสในช่วงกลางศตวรรษที่ 19
หลังจากการยึดครองของญี่ปุ่นใน พ.ศ. 2483 เวียดนามสู้รบกับฝรั่งเศสในสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง 2 กันยายน โฮจิมินห์ประกาศสถาปนาสาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม ในปี พ.ศ. 2497 เวียนนามชนะผรั่งเศสอย่างเด็ดขาดในยุทธการที่เดียนเบียนฟู และทำให้เวียดนามแยกเป็นสองประเทศคือเวียดนามเหนือ (สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม) และ เวียดนามใต้ (สาธารณรัฐเวียดนาม) ต่อมาความขัดแย้งระหว่าง 2 ประเทศทวีความรุนแรงจนกลายเป็นสงครามเวียดนามตั้งแต่ พ.ศ. 2498 –2518
ประเทศเวียดนามรวมประเทศและอยู่ภายใต้รัฐบาลคอมมิวนิสต์ แต่ยังมีความยากจนและโดดเดี่ยวทางการเมืองใน พ.ศ. 2529 พรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามเริ่มต้นบูรณะเศรษฐกิจและการเมืองทำให้เวียดนามเริ่มเข้าร่วมกับเศรษฐกิจโลก[7] ในปี พ.ศ. 2543 ได้มีการสร้างความสัมพันธ์ทางการทูตกับทุกประเทศ และตั้งแต่พ.ศ. 2543 อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของเวียดนามนั้นถือว่าเป็นประเทศที่มีอัตราการเติบโตสูงสุดในโลก[7] การบูรณะเศรษฐกิจประสบความสำเร็จทำให้เข้าร่วมกับองค์การการค้าโลกใน พ.ศ. 2550 และนอกจากนี้เวียดนามยังเป็นสมาชิกของความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิกและองค์การระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสด้วย
(ประเทศเวียดนามมีนักท่องเที่ยวมาประมาณ 5.54 ล้านคน)
เนื้อหา
ประวัติศาสตร์[แก้]ดูบทความหลักที่: ประวัติศาสตร์เวียดนามสมัยก่อนประวัติศาสตร์[แก้]ดูบทความหลักที่: วัฒนธรรมดงเซิน
กลองมโหระทึกสำริดเป็นอารยธรรมก่อนประวัติศาสตร์ในเวียดนามมีชื่อเสียงมากโดยเฉพาะอารยธรรมยุคหินใหม่ ที่มีหลักฐานคือกลองมโหระทึกสำริด และชุมชนโบราณที่ดงเซิน เขตเมืองแทงหวา ทางใต้ของปากแม่น้ำแดง สันนิษฐานว่าบรรพบุรุษของชาวเวียดนามโบราณผสมผสานระหว่างชนเผ่ามองโกลอยด์เหนือจากจีนและใต้ ซึ่งเป็นชาวทะเล ดำรงชีพด้วยการปลูกข้าวแบบนาดำและจับปลา และอยู่กันเป็นเผ่า บันทึกประวัติศาสตร์ยุคหลังของเวียดนามเรียกยุคนี้ว่าอาณาจักรวันลาง มีผู้นำปกครองสืบต่อกันหลายร้อยปีเรียกว่า กษัตริย์หุ่ง แต่ถือเป็นยุคก่อนประวัติศาสตร์
สมัยประวัติศาสตร์[แก้]เวียดนามเริ่มเข้าสู่ยุคประวัติศาสตร์หลังจากตอนใต้ของจีนเข้ารุกรานและยึดครองดินแดนแถบลุ่มแม่น้ำแดง จากนั้นไม่นานจักรพรรดิจิ๋นซีซึ่งเริ่มรวมดินแดนจีนสร้างจักรวรรดิให้เป็นหนึ่งเดียว โดยได้ยกทัพลงมาและทำลายอาณาจักรของพวกถุกได้ ก่อนผนวกดินแดนลุ่มแม่น้ำแดงทั้งหมด ให้ขึ้นตรงต่อศูนย์กลางการปกครองหนานไห่ ที่เมืองพานอวี่หรือกว่างโจวในมณฑลกวางตุ้งปัจจุบัน หลังสิ้นสุดราชวงศ์ฉินข้าหลวงหนานไห่คือจ้าวถัว ประกาศตั้งหนานไห่เป็นอาณาจักรอิสระ ชื่อว่า หนานเยว่ หรือ นามเหวียต ในสำเนียงเวียดนามซึ่งเป็นที่มาของชื่อเวียดนามในปัจจุบัน ก่อนกองทัพฮั่นเข้ายึดอาณาจักรนามเหวียด ได้ในปี พ.ศ. 585 และผนวกเป็นส่วนหนึ่งของจีน ใช้ชื่อว่า เจียวจื้อ ขยายอาณาเขตลงใต้ถึงบริเวณเมืองดานังในปัจจุบัน และส่งข้าหลวงปกครองระดับสูงมาประจำ เป็นช่วงเวลาที่ชาวจีนนำวัฒนธรรมจีนทางด้านต่างๆ ไปเผยแพร่ที่ดินแดนแห่งนี้ พร้อมเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ทรัพยากรจากชาวพื้นเมืองหรือชาวเวียดนามจนนำไปสู่การต่อต้านอย่างรุนแรงหลายครั้งเช่น:
หลังสมัยเลเหล่ย เริ่มเกิดความขัดแย้งระหว่างขุนนางพลเรือนกับบรรดาขุนศึกที่ร่วมทัพกับเลเหล่ยในการสู้รบกับจีน ความขัดแย้งบานปลายจนนำไปสู่การแบ่งพรรคแบ่งพวกในหมู่ข้าราชสำนัก จนเกิดการรัฐประหารครั้งแรกของราชวงศ์เลใน พ.ศ. 2002 มีการประหารพระชนนีและจักรพรรดิขณะนั้น ต่อมาบรรดาขุนนางจึงสนับสนุนให้ราชนิกูลอีกพระองค์หนึ่งมาเป็นจักรพรรดิแทน ต่อมาคือจักรพรรดิเลแถงตง (พ.ศ. 2003-2040)
รัชกาลจักรพรรดิเลแถงตงถือว่ายาวนานและรุ่งเรืองที่สุดยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เวียดนาม มีการปฏิรูปประเทศหลายด้านโดยยึดรูปแบบจีนมากกว่าเดิม ทั้งระบบการสอบรับราชการที่จัดสอบครบสามระดับตั้งแต่อำเภอจนถึงราชธานี จำนวนขุนนางเพิ่มขึ้นทวีคูณและทำให้ระบบราชการขยายตัวมากกว่ายุคสมัยก่อนหน้า นอกจากนั้นยังมีการประมวลกฎหมายใหม่พระองค์ทรงสร้างเวียดนามให้เป็นมหาอำนาจและเป็นศูนย์กลางด้วยการทำสงครามกับเพื่อนบ้านที่มักขัดแย้งกับเวียดนามคือจัมปาและลาว อิทธิพลของเวียดนามรับรู้ไปจนถึงหัวเมืองเผ่าไทในจีนตอนใต้และล้านนา หลังรัชกาลนี้ราชวงศ์เลเริ่มประสบปัญหาความขัดแย้งในหมู่ขุนนาง เชื้อพระวงศ์ ปัญหาเศรษฐกิจจนที่สุดก็ถูกรัฐประหารโดยขุนศึกหมักดังซุง ในปี พ.ศ. 2071 เชื้อพระวงศ์ราชวงศ์เลหลบหนีด้วยการช่วยเหลือของขุนศึกตระกูลเหวียนและจิ่ง ที่มีอิทธิพลในราชสำนักมาแต่แรก
ราชวงศ์เลเริ่มการฟื้นฟูกอบกู้อำนาจคืนโดยมีแม่ทัพเป็นคนตระกูลเหวียนและจิ่ง ทำสงครามกับราชวงศ์หมักจนถึงปี พ.ศ. 2136 จึงสามารถยึดเมืองทังลองคืนได้และฟื้นฟูราชวงศ์เลปกครองเวียดนามต่อไป
ยุคแตกแยกเหนือ-ใต้[แก้]
ราชวงศ์เหงวียนรุ่งเรืองที่สุดในสมัยจักรพรรดิมินหมั่ง จักรพรรดิองค์ที่สอง ทรงเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น ด่ายนาม ขยายแสนานุภาพไปยังลาวและกัมพูชา ผนวกกัมพูชาฝั่งตะวันออก ทำสงครามกับสยามต่อเนื่องเกือบยี่สิบปี แต่ภายหลังต้องถอนตัวจากกัมพูชาหลังถูกชาวกัมพูชาต่อต้านอย่างรุนแรง
สมัยนี้เวียดนามเริ่มใช้นโยบายต่อต้านการเผยแพร่คริสต์ศาสนาของบาทหลวงชาวตะวันตก มีการจับกุมและประหารบาทหลวงชาวตะวันตกอย่างต่อเนื่อง รวมถึงชาวเวียดนามที่นับถือคริสต์ศาสนา จนถึงรัชกาลจักรพรรดิองค์ที่ 4 คือจักรพรรดิตึดึ๊ก ทรงต่อต้านชาวคริสต์อย่างรุนแรงต่อไป จนในที่สุดบาทหลวงชาวฝรั่งเศสขอความช่วยเหลือจากรัฐบาลของตนให้ช่วยคุ้มครอง พ.ศ. 2401 เรือรบของกองทัพเรือฝรั่งเศสเข้ามาถึงน่านน้ำเมืองดานัง (หรือตูราน) ฐานทัพเรือใกล้เมืองหลวงเว้ นำไปสู่การสู้รบกันของทั้งฝ่าย
ต่อมากองกำลังฝรั่งเศสได้บุกโจมตีดินแดนภาคใต้บริเวณปากแม่น้ำโขงและยึดครองพื้นที่ได้เกือบทั้งหมด จักรพรรดิตึดึ๊กจึงต้องยอมสงบศึกและมอบดินแดนภาคใต้ให้แก่ฝรั่งเศส ชาวเวียดนามเริ่มต่อต้านการยึดครองของฝรั่งเศสแต่ไม่อาจต่อสู้กับแสนยานุภาพทหางทหารที่เหนือกว่าได้ ฝรั่งเศสจึงเข้าควบคุมเวียดนามอย่างจริงจังมากขึ้นและแบ่งเวียดนามออกเป็น 3 ส่วน คืออาณานิคมโคชินจีน ในภาคใต้ เขตอารักขาแคว้นอันนัม ในตอนกลาง และ เขตอารักขาตังเกี๋ยในภาคเหนือ และเวียดนามยังมีจักรพรรดิเป็นประมุขเช่นเดิม แต่ต้องผ่านการคัดเลือกโดยข้าหลวงฝรั่งเศส และมีฐานะเป็นสัญลักษณ์ อำนาจในการบริหารการคลัง การทหาร และ การทูตเป็นของฝรั่งเศส ถือว่าเวียดนามสิ้นสุดฐานะเอกราชนับแต่นั้น
ยุคอาณานิคม[แก้]ดูบทความหลักที่: อินโดจีนฝรั่งเศส
แผนที่อินโดจีน ค.ศ. 1913.ฝรั่งเศสแสวงหาผลประโยชน์จากการปกครองเวียดนามทางด้านเศรษฐกิจ เวียดนามเป็นแหล่งปลูกข้าวและพืชเศรษฐกิจใหม่ ๆ เช่นกาแฟ และยางพารา ส่งออกไปยังฝรั่งเศสและเป็นวัตถุดิบแก่โรงงานในฝรั่งเศส ที่ดินในเวียดนามถูกยึดและตกเป็นของชาวฝรั่งเศส และเริ่มอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในเวียดนาม ขณะเดียวกันก็ส่งเสริมการศึกษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศสให้แพร่หลายในเวียดนาม ชาวเวียดนามส่วนหนึ่งได้รับการศึกษาแบบใหม่และเริ่มต้องการอิสระในการทำงานและมีส่วนร่วมในการปกครองประเทศ นำไปสู่การก่อตัวของกลุ่มชาตินิยมต่าง ๆ ที่เข้มแข็งที่สุดคือพรรคคอมมิวนิสต์อินโดจีนที่ตั้งขึ้นโดยโฮจิมินห์ ในปี พ.ศ. 2473 และต่อมาปรับเปลี่ยนเป็น กลุ่มเวียดมินห์ ได้นำชาวนาก่อการต่อต้านฝรั่งเศสในชนบท
ยุคเอกราช[แก้]ดูบทความหลักที่: เวียดนามเหนือ และ เวียดนามใต้พ.ศ. 2488 โฮจิมินห์รับมอบอำนาจจากจักรพรรดิบ๋าวได่และรับตำแหน่งประธานาธิบดีคนแรกหลังประกาศเอกราช แต่หลังจากนั้นฝรั่งเศสได้กลับเข้ามาขับไล่รัฐบาลของโฮจิมินห์และไม่ยอมรับเอกราชของเวียดนาม นำไปสู่สงครามจนในที่สุดฝรั่งเศสพ่ายแพ้แก่กองกำลังเวียดมินห์ที่ค่ายเดียนเบียนฟู ในปี พ.ศ. 2497 และมีการทำสนธิสัญญาเจนีวา ของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ยอมรับเอกราชของเวียดนาม แต่สหรัฐอเมริกาและชาวเวียดนามในภาคใต้บางส่วนไม่ต้องการรวมตัวกับรัฐบาลของโฮจิมินห์ ต่อมาได้ก่อตั้งดินแดนเวียดนามภาคใต้เป็นอีกประเทศหนึ่ง คือ สาธารณรัฐเวียดนาม (เวียดนามใต้) มีเมืองหลวงคือ ไซ่ง่อน ใช้เส้นละติจูดที่ 17 องศาเหนือแบ่งแยกกับเวียดนามส่วนเหนือใต้การปกครองของโฮจิมินห์ (เวียดนามเหนือ)
สงครามเวียดนาม[แก้]
สงครามเวียดนาม
ดูบทความหลักที่: สงครามเวียดนามเวียดนามเหนือไม่ยอมรับสถานภาพของเวียดนามใต้ ขณะที่สหรัฐอเมริกาได้ให้การช่วยเหลือทางทหารแก่เวียดนามใต้อย่างต่อเนื่อง รวมถึงการส่งทหารมาประจำในเวียดนามใต้เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เวียดนามเหนือประกาศทำสงครามเพื่อขับไล่และ ปลดปล่อย เวียดนามใต้จากสหรัฐอเมริกาและรวมเข้าเป็นประเทศเดียวกัน พร้อมให้การสนับสนุนกลุ่มชาวเวียดนามใต้ที่ต่อต้านสหรัฐอเมริกา (เวียดกง) ในการทำสงคราม
การรบส่วนใหญ่กลายเป็นการรบระหว่างทหารสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรจากต่างประเทศ กับกองกำลังเวียดกงและเวียดนามเหนือ ทั้งในชนบทและการโจมตีในเมือง แม้สหรัฐอเมริกาได้ทุ่มเทแสนยานุภาพอย่างเต็มที่แต่ก็ไม่อาจทำให้สงครามยุติลงได้ หลังการรุกโจมตีครั้งใหญ่ของเวียดนามเหนือและเวียดกงในปี พ.ศ. 2511 ที่เมืองเว้และเมืองหลักอื่น ๆ ในเวียดนามใต้ สหรัฐอเมริกาเริ่มเตรียมการถอนกำลังจากเวียดนามใต้และให้เวียดนามใต้ทำสงครามโดยลำพัง
สหรัฐอเมริกาถอนทหารจากเวียดนามใต้อย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2516 กองกำลังเวียดนามเหนือและเวียดกงจึงสามารถรุกเข้ายึดไซ่ง่อนและเวียดนามใต้ได้ทั้งหมดในปี พ.ศ. 2518 การรวมเวียดนามทั้งสองส่วนเข้าด้วยกันเกิดขึ้นในวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2519 และเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม นับแต่นั้น
หน่วยงานราชการและการเมือง[แก้]1.การเมืองของเวียดนามมีเสถียรภาพ เนื่องจากมีพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม เป็นองค์กรที่มีอำนาจ สูงสุดเพียงพรรคการเมืองเดียว ผูกขาดการชี้นำภายใต้ระบบผู้นำร่วม (collective leadership) ที่คานอำนาจระหว่างกลุ่มผู้นำ ได้แก่
3.สภาแห่งชาติชุดใหม่ได้เปิดประชุมเมื่อ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 โดยสภาได้มีมติสำคัญๆ คือ
4.แผนงานการปฏิรูประบบราชการสำหรับปี ค.ศ. 2001-2010 เน้น 4 ประเด็น ได้แก่ การปฏิรูประบบกฎหมาย การปฏิรูปโครงสร้างองค์กร การยกระดับความสามารถของข้าราชการ และการปฏิรูปด้านการคลัง
การทหาร[แก้]ดูบทความหลักที่: กองทัพเวียดนาม
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]ดูบทความหลักที่: จังหวัดของประเทศเวียดนาม, เทศบาลนครของประเทศเวียดนาม และ เขตของประเทศเวียดนาม
ลายเจิว
หล่าวกาย
ห่าซาง
กาวบั่ง
หลั่งเซิน
บั๊กกั่น
เตวียนกวาง
เอียนบ๊าย
เดี่ยนเบียน
เซินลา
ฟู้เถาะ
ท้ายเงวียน
ฮานอย
บั๊กซาง
กว๋างนิญ
ไฮฟอง
ท้ายบิ่ญ
นามดิ่ญ
นิญบิ่ญ
ฮหว่าบิ่ญ
ทัญฮว้า
เหงะอาน
ห่าติ๋ญ
กว๋างบิ่ญ
กว๋างจิ
เถื่อเทียน-เว้
ดานัง
กว๋างนาม
กอนตูม
กว๋างหงาย
ซาลาย
บิ่ญดิ่ญ
ดั๊กลัก
ฟู้เอียน
ดั๊กนง
คั้ญฮหว่า
เลิมด่ง
นิญถ่วน
บิ่ญถ่วน
บิ่ญเฟื้อก
ด่งนาย
บ่าเสียะ-หวุงเต่า
บิ่ญเซือง
เต็ยนิญ
ล็องอาน
ด่งท้าป
อานซาง
เกียนซาง
ก่าเมา
บักเลียว
ซ้อกจัง
จ่าวิญ
เบ๊นแจ
หวิญฟุก
บั๊กนิญ
หายเซือง
ฮึงเอียน
ห่านาม
นครโฮจิมินห์
เตี่ยนซาง
หวิญล็อง
เกิ่นเทอ
เหิ่วซาง
ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดง ชายฝั่งตอนกลางเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ ตะวันตกเฉียงเหนือ
ที่สูงตอนกลาง ชายฝั่งตอนกลางใต้ ตะวันออกเฉียงใต้ ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง
อ่าวหะล็อง
ชาวเวียดนามนิยมปลูกข้าวแบบขั้นบันไดเวียดนามเป็นประเทศที่มีลักษณะเป็นแนวยาว และ มีภูมิประเทศเป็นภูเขาสูงกั้นระหว่างที่ราบลุ่มแม่น้ำที่อุดมสมบูรณ์ทางตอนเหนือและใต้ แต่มีภูเขาที่มีป่าหนาทึบแค่ 20% โดยมีพันธุ์ไม้ 13,000 ชนิด และพันธุ์สัตว์กว่า 15,000 สายพันธุ์
ลักษณะภูมิประเทศ[แก้]
เศรษฐกิจ[แก้]
ฮานอยมีเคียงนัมฮานอยแลนด์มาร์กทาวเวอร์ตึกที่สูงที่สุดในเวียดนามเกษตรกรรม[แก้]มีผลผลิตได้แก่ ข้าวเจ้า ยางพารา ชา กาแฟ ยาสูบ พริกไทย (ในปี พ.ศ. 2549 ส่งออกกว่า 116,000 ตัน) [10] การประมง เวียดนามจับปลาได้เป็นอันดับ 4 ของสินค้าส่งออก เช่น ปลาหมึก กุ้ง ตลาดที่สำคัญ คือ ญี่ปุ่น ไต้หวัน และสิงคโปร์
อุตสาหกรรม[แก้]อุตสาหกรรมที่สำคัญ คือ อุตสาหกรรมทอผ้า ศูนย์กลางอยู่ที่โฮจิมินห์ซิตีและมีนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้เบียนโฮ[11] การทำเหมืองแร่ที่สำคัญ คือ ถ่านหิน น้ำมันปิโตรเลียม และแก๊สธรรมชาติ เวียดนามเป็นประเทศส่งออกน้ำมันดิบรายใหญ่อันดับ 3 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รองจากอินโดนีเซียและมาเลเซีย [12]
สถานการณ์เศรษฐกิจ[แก้]
ท่าเรือไซ่ง่อนเวียดนามมีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว และเผชิญภาวะขาดแคลนพลังงานไฟฟ้า จึงมีการซื้อพลังงานไฟฟ้าจากมณฑลยูนนาน ประเทศจีน ตั้งแต่กันยายนปี 2004 [13] แม้ว่าเหตุผลทางเศรษฐกิจจะเป็นเหตุผลที่มีความสำคัญรองจากเหตุผลทางการเมืองและยุทธศาสตร์ในการที่อาเซียนรับเวียดนามเข้าเป็นสมาชิก แต่ก็ยังคงความสำคัญในระดับหนึ่งที่จะมองข้ามไปไม่ได้ความสัมพันธ์ทวิภาคีทางเศรษฐกิจระหว่างเวียดนามและประกาศถอนทหารออกจากกัมพูชา และเมื่อเวียดนามได้ลงนามในข้อตกลงสันติภาพที่กรุงปารีสในปี 1991
เหตุผลการเข้าเป็นสมาชิกอาเซียน[แก้]
ในปัจจุบัน ประเทศที่ได้รับการอนุมัติด้วยมูลค่าลงทุนมากที่สุดได้แก่สิงคโปร์ ซึ่งมีโครงการการลงทุนที่ได้รับการอนุมัติจำนวนโครงการ ด้วยมูลค่า 5.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ มูลค่าการลงทุนของประเทศสมาชิกอาเซียนในเวียดนามคิดได้เป็นร้อยละ 27.69 ของมูลค่าของการลงทุนต่างชาติทั้งสิ้นในเวียดนาม กล่าวคือในมูลค่า 8.14 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ จากมูลค่าของการลงทุนต่างชาติทั้งสิน 29.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยมีโครงการทั้งสิ้น 337 โครงการ โดยมาเลเซียลงทุนเป็นอันดับ 2 รองจากสิงคโปร์ ไทยลงทุนเป็นอันดับ 3 ประเภทของการลงทุนที่สมาชิกอาเซียนดำเนินการในเวียดนาม ได้แก่ อุตสาหกรรมการผลิต การก่อสร้างสำนักงาน ที่อยู่อาศัย การผลิตสินค้าอุปโภคบริโภคและการแปรรูปอาหาร เวียดนามหวังว่าการลงทุนจากประเทศสมาชิกอาเซียนนี้จะมีส่วนช่วยถ่วงดุลการลงทุนจากเกาหลีใต้ ไต้หวัน ฮ่องกง และญี่ปุ่น
ในขณะเดียวกันในส่วนของอาเซียน เหตุผลประการหนึ่งที่ทำให้อาเซียนยินดีรับเวียดนามเข้าเป็นสมาชิกก็คือ การเข้ารวมกลุ่มอาเซียนของเวียดนามนั้นจะมีผลไปเพิ่มความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจอีกทั้งอำนาจในการต่อรองทางการเมืองทั้งหลายต่างก็มีผลประโยชน์ที่สอดคล้องกัน ทั้งทางการเมืองและทางเศรษฐกิจร่วมกันอันนำไปสู่การยอมรับในที่สุด
ไบยังการนำทางไปยังการค้นหา
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam (เวียดนาม)
ธงชาติตราแผ่นดิน
คำขวัญ: Độc lập – Tự do – Hạnh phúc ดกเหฺลิบ ตึซอ หั่ญฟุก (เหนือ) ดกเหฺลิบ ตึยอ หั่ญฟุก (ใต้)
("เอกราช อิสรภาพ ความสุข")
เพลงชาติ: มาร์ชทหารเวียดนาม
(Tiến Quân Ca)[N 1]
MENU
0:00
ที่ตั้งของ ประเทศเวียดนาม (เขียว)ในอาเซียน (เทาเข้ม) — [คำอธิบายสัญลักษณ์]
เมืองหลวงฮานอย
21°2′N 105°51′E
เมืองใหญ่สุดนครโฮจิมินห์
ภาษาราชการภาษาเวียดนาม
การปกครองคอมมิวนิสต์
• ประธานาธิบดีเหงียน ฟู้ จ่อง
• นายกรัฐมนตรีเหงียน ซวน ฟุก
• ประธานสมัชชาแห่งชาติเวียดนามเหงียน ถิ กีม เงิน
เอกราชจาก ฝรั่งเศส
• ประกาศ2 กันยายน พ.ศ. 2488[1]
• เป็นที่ยอมรับพ.ศ. 2497
พื้นที่
• รวม331,689 ตร.กม. (65)
128,065 ตร.ไมล์
• แหล่งน้ำ (%)1.3 [2]
ประชากร
• 1 กรกฎาคม 2560 (ประเมิน)93,700,000 [3] (13)
• ความหนาแน่น272 คน/ตร.กม. (46)
703 คน/ตร.ไมล์
จีดีพี (อำนาจซื้อ)2559 (ประมาณ)
• รวม$ 753.902 พันล้าน
• ต่อหัว$ 6,994
จีดีพี (ราคาตลาด)2559 (ประมาณ)
• รวม$ 263 พันล้าน
• ต่อหัว$ 2,280
จีนี (2557)34.8[4]
HDI (2559) 0.694 (ปานกลาง) (115th)
สกุลเงินด่อง (₫)[5] (VND)
เขตเวลา(UTC+7)
• ฤดูร้อน (DST) (UTC+7)
ขับรถด้านขวามือ
โดเมนบนสุด.vn
รหัสโทรศัพท์84เวียดนาม (เวียดนาม: Việt Nam [viət˨ nam˧] เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม(เวียดนาม: Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีประชากรประมาณ 94.6 ล้านคนใน พ.ศ. 2559 ทำให้มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลกและมากเป็นอันดับ 9 ของเอเชีย มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ อ่าวไทย ทางทิศตะวันออกและใต้ [a] มีเมืองหลวงชื่อฮานอยตั้งแต่เวียดนามเหนือและใต้รวมกันใน พ.ศ. 2519 เมืองใหญ่สุดในประเทศคือนครโฮจิมินห์
ทางเหนือของเวียดนามเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิจีนกว่าพันปี ตั้งแต่ 111 ปีก่อนคริสต์ศักราชถึง ค.ศ. 939 รัฐแรกเริ่มของเวียดนามก่อตั้งขึ้นเมื่อประมาณปี 939 หลังเวียดนามชนัจีนในยุทธนาวีแม่น้ำบักดั่ง เวียดนามและจักรพรรดิเวียดนามก็เจริญรุ่งเรืองและเริ่มแผ่ขยายอิทธิพลเข้าไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนกระทั่งตกเป็นอินโดจีนของฝรั่งเศสของฝรั่งเศสในช่วงกลางศตวรรษที่ 19
หลังจากการยึดครองของญี่ปุ่นใน พ.ศ. 2483 เวียดนามสู้รบกับฝรั่งเศสในสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง 2 กันยายน โฮจิมินห์ประกาศสถาปนาสาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม ในปี พ.ศ. 2497 เวียนนามชนะผรั่งเศสอย่างเด็ดขาดในยุทธการที่เดียนเบียนฟู และทำให้เวียดนามแยกเป็นสองประเทศคือเวียดนามเหนือ (สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม) และ เวียดนามใต้ (สาธารณรัฐเวียดนาม) ต่อมาความขัดแย้งระหว่าง 2 ประเทศทวีความรุนแรงจนกลายเป็นสงครามเวียดนามตั้งแต่ พ.ศ. 2498 –2518
ประเทศเวียดนามรวมประเทศและอยู่ภายใต้รัฐบาลคอมมิวนิสต์ แต่ยังมีความยากจนและโดดเดี่ยวทางการเมืองใน พ.ศ. 2529 พรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามเริ่มต้นบูรณะเศรษฐกิจและการเมืองทำให้เวียดนามเริ่มเข้าร่วมกับเศรษฐกิจโลก[7] ในปี พ.ศ. 2543 ได้มีการสร้างความสัมพันธ์ทางการทูตกับทุกประเทศ และตั้งแต่พ.ศ. 2543 อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของเวียดนามนั้นถือว่าเป็นประเทศที่มีอัตราการเติบโตสูงสุดในโลก[7] การบูรณะเศรษฐกิจประสบความสำเร็จทำให้เข้าร่วมกับองค์การการค้าโลกใน พ.ศ. 2550 และนอกจากนี้เวียดนามยังเป็นสมาชิกของความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิกและองค์การระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสด้วย
(ประเทศเวียดนามมีนักท่องเที่ยวมาประมาณ 5.54 ล้านคน)
เนื้อหา
- 1ชื่อ
- 2ประวัติศาสตร์
- 3หน่วยงานราชการและการเมือง
- 4ภูมิศาสตร์
- 5เศรษฐกิจ
- 6ประชากรศาสตร์
- 7วัฒนธรรม
- 8ดูเพิ่ม
- 9หมายเหตุ
- 10อ้างอิง
- 11แหล่งข้อมูลอื่น
ประวัติศาสตร์[แก้]ดูบทความหลักที่: ประวัติศาสตร์เวียดนามสมัยก่อนประวัติศาสตร์[แก้]ดูบทความหลักที่: วัฒนธรรมดงเซิน
กลองมโหระทึกสำริดเป็นอารยธรรมก่อนประวัติศาสตร์ในเวียดนามมีชื่อเสียงมากโดยเฉพาะอารยธรรมยุคหินใหม่ ที่มีหลักฐานคือกลองมโหระทึกสำริด และชุมชนโบราณที่ดงเซิน เขตเมืองแทงหวา ทางใต้ของปากแม่น้ำแดง สันนิษฐานว่าบรรพบุรุษของชาวเวียดนามโบราณผสมผสานระหว่างชนเผ่ามองโกลอยด์เหนือจากจีนและใต้ ซึ่งเป็นชาวทะเล ดำรงชีพด้วยการปลูกข้าวแบบนาดำและจับปลา และอยู่กันเป็นเผ่า บันทึกประวัติศาสตร์ยุคหลังของเวียดนามเรียกยุคนี้ว่าอาณาจักรวันลาง มีผู้นำปกครองสืบต่อกันหลายร้อยปีเรียกว่า กษัตริย์หุ่ง แต่ถือเป็นยุคก่อนประวัติศาสตร์
สมัยประวัติศาสตร์[แก้]เวียดนามเริ่มเข้าสู่ยุคประวัติศาสตร์หลังจากตอนใต้ของจีนเข้ารุกรานและยึดครองดินแดนแถบลุ่มแม่น้ำแดง จากนั้นไม่นานจักรพรรดิจิ๋นซีซึ่งเริ่มรวมดินแดนจีนสร้างจักรวรรดิให้เป็นหนึ่งเดียว โดยได้ยกทัพลงมาและทำลายอาณาจักรของพวกถุกได้ ก่อนผนวกดินแดนลุ่มแม่น้ำแดงทั้งหมด ให้ขึ้นตรงต่อศูนย์กลางการปกครองหนานไห่ ที่เมืองพานอวี่หรือกว่างโจวในมณฑลกวางตุ้งปัจจุบัน หลังสิ้นสุดราชวงศ์ฉินข้าหลวงหนานไห่คือจ้าวถัว ประกาศตั้งหนานไห่เป็นอาณาจักรอิสระ ชื่อว่า หนานเยว่ หรือ นามเหวียต ในสำเนียงเวียดนามซึ่งเป็นที่มาของชื่อเวียดนามในปัจจุบัน ก่อนกองทัพฮั่นเข้ายึดอาณาจักรนามเหวียด ได้ในปี พ.ศ. 585 และผนวกเป็นส่วนหนึ่งของจีน ใช้ชื่อว่า เจียวจื้อ ขยายอาณาเขตลงใต้ถึงบริเวณเมืองดานังในปัจจุบัน และส่งข้าหลวงปกครองระดับสูงมาประจำ เป็นช่วงเวลาที่ชาวจีนนำวัฒนธรรมจีนทางด้านต่างๆ ไปเผยแพร่ที่ดินแดนแห่งนี้ พร้อมเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ทรัพยากรจากชาวพื้นเมืองหรือชาวเวียดนามจนนำไปสู่การต่อต้านอย่างรุนแรงหลายครั้งเช่น:
- วีรสตรีในนาม ฮายบาจึง ได้นำกองกำลังต่อต้านการปกครองของจีน แต่ปราชัยในอีก 3 ปีต่อมาและตกเป็นส่วนหนึ่งของจีน
- นักโทษปัญญาชนชาวจีนนามว่า หลีโบน ร่วมมือกับปัญญาชนชาวเวียดนามร่วมทำการปฏิวัติ ก่อตั้งราชวงค์หลี ขนานนามแคว้นว่า วันซวน แต่พ่ายแพ้ในที่สุด
- พ.ศ. 1498-1510 ราชวงศ์โง--หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์ถางของจีน นายพลโงเกวี่ยนผู้นำท้องถิ่นในเขตเมืองฮวาลือ ทางใต้ของลุ่มแม่น้ำแดง ขับไล่ชาวจีนได้ แล้วจึงก่อตั้งราชวงศ์โงเปลี่ยนชื่อประเทศว่า ไดเวียด หลังจากจักรพรรดิสวรรคต อาณาจักรแตกแยกออกเป็น 12 แคว้น มีผู้นำของตนไม่ขึ้นตรงต่อกัน
- พ.ศ. 1511-1523 ราชวงศ์ดิงห์--ขุนศึกดิงห์โบะหลิง แม่ทัพของราชวงศ์โง สามารถรวบรวมแคว้นต่างๆเข้าด้วยกัน เปลียนชื่อประเทศเป็น
- พ.ศ. 1524-1552 ราชวงศ์เตี่ยนเลหรือเลยุคแรก--มเหสีของจักรพรรดิดิงห์โบะหลิง ได้ขับไล่รัชทายาทราชวงศ์ดิงห์ สถาปนาพระสวามีใหม่คือขุนศึกเลหว่านเป็นจักรพรรดิเลด่ายแห่ง โดยพยายามสร้างความมั่นคงด้วยการฟื้นฟูความสัมพันธ์กับราชวงศ์ซ่งของจีนและปราบปรามกบฏภายใน แต่ก็ไม่รอดพ้นการรัฐประหาร สมัยนี้พุทธศาสนาและลัทธิเต๋ารุ่งเรืองมากและได้รับความเลื่อมใสศรัทธาในหมู่ชนชั้นสูงมาก
- พ.ศ. 1552-1768 ราชวงศ์หลี--หลี กง อ่วนมีอำนาจในราชสำนักฮวาลือ เมื่อขึ้นครองราชย์ ทรงย้ายเมืองหลวงไปที่ ทังลอง (ฮานอย) ทรงสร้างวัดขึ้น 150 แห่ง ในปี 1070 นำระบบการสอบจอหงวนมาใช้ ก่อตั้งมหาวิทยาลัยวันเหมียว ให้ความรู้เกี่ยวกับวรรณคดีขงจื้อ เพื่อสอบเข้ารับราชการในระบบจอหงวน แต่ขุนนางยังมีจำนวนน้อย ส่วนหนึ่งเป็นเชื้อสายผู้มีอิทธิพลในหัวเมือง ต่อมาทรงพระนามว่า หลีไถโต๋ สมัยหลีเป็นสมัยที่พระพุทธศาสนามีอิทธิพลต่อการเมืองการปกครองและสังคมมาก ที่ปรึกษาราชการในบางสมัยเป็นพระสงฆ์ จักรพรรดิราชวงศ์หลีช่วงหลังสร้างวัดขนาดใหญ่ขึ้นหลายแห่ง และสละราชสมบัติออกผนวช เป็นสาเหตุให้การบริหารราชการเริ่มตกอยู่ในอำนาจของเครือญาติพระชายามาจากตระกูลที่มั่งคั่งในหัวเมือง ผู้ปกครององค์สุดท้ายเป็นเด็กหญิงที่ได้รับการตั้งเป็นจักรพรรดินี พระนามว่าหลีเจี่ยว การบริหารราชการตกอยู่ในอำนาจของญาติวงศ์พระชนนีซึ่งเป็นขุนศึกมีกองกำลังทหารอยู่ในมือ เช่นเจิ่นถูโดะ ซึ่งก่อรัฐประหารยึดอำนาจจากราชวงศ์หลีในที่สุด
- พ.ศ. 1768-1943 ราชวงศ์เจิ่น--เจิ่นถูโดะญาติของพระชายาจักรพรรดิก่อรัฐประหาร ยึดอำนาจท่ามกลางสถานการณ์กบฏและการรุกรานจากข้าศึกต่างชาติ จากนั้นได้อภิเษกสมรสกับพระนางเจียว ฮว่าง จักรพรรดินีองศ์สุดท้ายของราชวงศ์หลีแล้วยกหลานขึ้นเป็นจักรพรรดิองค์แรกของราชวงศ์เจิ่น สมัยเจิ่นเวียดนามต้องเผชิญกับศึกสงครามโดยตลอด ที่ร้ายแรงที่สุดคือการรุกรานจากพวกมองโกลและจัมปา สมัยเจิ่นก็เริ่มให้ความสำคัญกับอารยธรรมจีนมากกว่ายุคก่อนหน้าโดยเฉพาะด้านภูมิปัญญาและอักษรศาสตร์รวมถึงการบริหารราชการแบบจีน ในสมัยนี้มีการประมวลพงศาวดารชาติเป็นครั้งแรก ชื่อว่า ด่ายเหวียตสือกี๋ หรือ บันทึกประวัติศาสตร์มหาอาณาจักรเวียด โดยราชบัณฑิต เลวันฮึว นอกจากนี้ยังเริ่มมีการประดิษฐ์อักษรของเวียดนามที่เรียกว่า อักษรโนม ขึ้นเป็นครั้งแรก
- พ.ศ. 1943-1971 ราชวงศ์โห่--โห่กุ๊ยลี ญาติของพระชายาจักรพรรดิราชวงศ์เจิ่น สร้างฐานอำนาจของตนด้วยการเป็นแม่ทัพทำศึกกับพวกจามทางใต้ ต่อมาก่อรัฐประหารยึดอำนาจจากจักรพรรดิราชวงศ์เจิ่นและพยายามกำจัดเชื้อสายราชวงศ์ที่หลงเหลืออยู่ จากนั้นขึ้นครองราชย์ ตั้งทายาทของตนเป็นจักรพรรดิต่อมา ราชนิกูลราชวงศ์เจิ่นได้ขอความช่วยเหลือไปยังจีน ทำให้จีนส่งกองทัพเข้ามาล้มล้าง ราชวงศ์โห่ แต่สุดท้ายก็ไม่มอบอำนาจให้แก่ราชวงศ์เจิ่น และยึดครองเวียดนามแทนที่
- การกู้เอกราชและก่อตั้ง ราชวงศ์เล (ยุคหลัง) พ.ศ. 1971-2331 เล่เหล่ย ชาวเมืองแทงหวา ทางใต้ของฮานอย ได้รวบรวมสมัครพรรคพวกตั้งตนขึ้นเป็นผู้นำเวียดนาม ขับไล่จีนออกจากเวียดนามได้สำเร็จ ต่อมาในปี พ.ศ. 1971 เลเหล่ยขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิองค์ใหม่ สถาปนา ราชวงศ์เล ขึ้น มีราชธานีที่ฮานอยหรือทังลองและราชธานีอีกแห่งคือที่เมืองแทงหวา (ทันห์ว้า) หรือ ราชธานีตะวันตก ซึ่งเป็นถิ่นฐานเดิมของเลเหล่ยและตระกูลเล ต่อมาเลเหล่ยได้รับการถวายพระนามว่า เลไถโต๋
หลังสมัยเลเหล่ย เริ่มเกิดความขัดแย้งระหว่างขุนนางพลเรือนกับบรรดาขุนศึกที่ร่วมทัพกับเลเหล่ยในการสู้รบกับจีน ความขัดแย้งบานปลายจนนำไปสู่การแบ่งพรรคแบ่งพวกในหมู่ข้าราชสำนัก จนเกิดการรัฐประหารครั้งแรกของราชวงศ์เลใน พ.ศ. 2002 มีการประหารพระชนนีและจักรพรรดิขณะนั้น ต่อมาบรรดาขุนนางจึงสนับสนุนให้ราชนิกูลอีกพระองค์หนึ่งมาเป็นจักรพรรดิแทน ต่อมาคือจักรพรรดิเลแถงตง (พ.ศ. 2003-2040)
รัชกาลจักรพรรดิเลแถงตงถือว่ายาวนานและรุ่งเรืองที่สุดยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เวียดนาม มีการปฏิรูปประเทศหลายด้านโดยยึดรูปแบบจีนมากกว่าเดิม ทั้งระบบการสอบรับราชการที่จัดสอบครบสามระดับตั้งแต่อำเภอจนถึงราชธานี จำนวนขุนนางเพิ่มขึ้นทวีคูณและทำให้ระบบราชการขยายตัวมากกว่ายุคสมัยก่อนหน้า นอกจากนั้นยังมีการประมวลกฎหมายใหม่พระองค์ทรงสร้างเวียดนามให้เป็นมหาอำนาจและเป็นศูนย์กลางด้วยการทำสงครามกับเพื่อนบ้านที่มักขัดแย้งกับเวียดนามคือจัมปาและลาว อิทธิพลของเวียดนามรับรู้ไปจนถึงหัวเมืองเผ่าไทในจีนตอนใต้และล้านนา หลังรัชกาลนี้ราชวงศ์เลเริ่มประสบปัญหาความขัดแย้งในหมู่ขุนนาง เชื้อพระวงศ์ ปัญหาเศรษฐกิจจนที่สุดก็ถูกรัฐประหารโดยขุนศึกหมักดังซุง ในปี พ.ศ. 2071 เชื้อพระวงศ์ราชวงศ์เลหลบหนีด้วยการช่วยเหลือของขุนศึกตระกูลเหวียนและจิ่ง ที่มีอิทธิพลในราชสำนักมาแต่แรก
ราชวงศ์เลเริ่มการฟื้นฟูกอบกู้อำนาจคืนโดยมีแม่ทัพเป็นคนตระกูลเหวียนและจิ่ง ทำสงครามกับราชวงศ์หมักจนถึงปี พ.ศ. 2136 จึงสามารถยึดเมืองทังลองคืนได้และฟื้นฟูราชวงศ์เลปกครองเวียดนามต่อไป
ยุคแตกแยกเหนือ-ใต้[แก้]
- หลังการฟื้นฟูราชวงศ์เลขึ้นได้ ขุนศึกตระกูลจิ่งตั้งตนเป็นผู้สำเร็จราชการ และให้ขุนศึกตระกูลเหวียนไปปกครองเขตชายแดนใต้บริเวณเมืองด่งเหยลงไปถึงบริเวณเมืองดานังในปัจจุบัน ขุนศึกตระกูลจิ่งตั้งตนเป็น เจ้าสืบตำแหน่งผู้สำเร็จราชการ ในตระกูลของตนเอง ขุนศึกตระกูลเหวียนจึงประกาศไม่ยอมรับการปกครองของตระกูลจิ่งจนเกิดสงครามครั้งใหม่ต่อมาอีกหลายสิบปี เวียดนามแบ่งแยกเป็นสองส่วน ส่วนเหนือ คือ เวียดนามเหนือ อยู่ในการปกครองของราชวงศ์เลและเจ้าตระกูลจิ่ง มีศูนย์กลางที่ทังลอง ส่วนใต้ คือ เวียดนามใต้ มีตระกูลเหวียนปกครอง มีศุนย์กลางที่เมืองฝูซวนหรือเว้ในปัจจุบันตลอดมา
- พ.ศ. 2316 เกิดกบฏนำโดยชาวนาสามพี่น้องที่หมู่บ้านเตยเซินขึ้นในเขตเมืองบิ่งดิ่ง เขตปกครองของตระกูลเหวียน และสามารถยึดเมืองฝูซวนได้ องค์ชายเหงวียนแอ๋ง เชื้อสายตระกูลเหวียนหลบหนีลงใต้ออกจากเวียดนามไปจนถึงกรุงเทพฯ ก่อนกลับมารวบรวมกำลังเอาชนะพวกเตยเซินได้
- จักรวรรดิเวียดนาม (พ.ศ. 2345 -2488)
ราชวงศ์เหงวียนรุ่งเรืองที่สุดในสมัยจักรพรรดิมินหมั่ง จักรพรรดิองค์ที่สอง ทรงเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น ด่ายนาม ขยายแสนานุภาพไปยังลาวและกัมพูชา ผนวกกัมพูชาฝั่งตะวันออก ทำสงครามกับสยามต่อเนื่องเกือบยี่สิบปี แต่ภายหลังต้องถอนตัวจากกัมพูชาหลังถูกชาวกัมพูชาต่อต้านอย่างรุนแรง
สมัยนี้เวียดนามเริ่มใช้นโยบายต่อต้านการเผยแพร่คริสต์ศาสนาของบาทหลวงชาวตะวันตก มีการจับกุมและประหารบาทหลวงชาวตะวันตกอย่างต่อเนื่อง รวมถึงชาวเวียดนามที่นับถือคริสต์ศาสนา จนถึงรัชกาลจักรพรรดิองค์ที่ 4 คือจักรพรรดิตึดึ๊ก ทรงต่อต้านชาวคริสต์อย่างรุนแรงต่อไป จนในที่สุดบาทหลวงชาวฝรั่งเศสขอความช่วยเหลือจากรัฐบาลของตนให้ช่วยคุ้มครอง พ.ศ. 2401 เรือรบของกองทัพเรือฝรั่งเศสเข้ามาถึงน่านน้ำเมืองดานัง (หรือตูราน) ฐานทัพเรือใกล้เมืองหลวงเว้ นำไปสู่การสู้รบกันของทั้งฝ่าย
ต่อมากองกำลังฝรั่งเศสได้บุกโจมตีดินแดนภาคใต้บริเวณปากแม่น้ำโขงและยึดครองพื้นที่ได้เกือบทั้งหมด จักรพรรดิตึดึ๊กจึงต้องยอมสงบศึกและมอบดินแดนภาคใต้ให้แก่ฝรั่งเศส ชาวเวียดนามเริ่มต่อต้านการยึดครองของฝรั่งเศสแต่ไม่อาจต่อสู้กับแสนยานุภาพทหางทหารที่เหนือกว่าได้ ฝรั่งเศสจึงเข้าควบคุมเวียดนามอย่างจริงจังมากขึ้นและแบ่งเวียดนามออกเป็น 3 ส่วน คืออาณานิคมโคชินจีน ในภาคใต้ เขตอารักขาแคว้นอันนัม ในตอนกลาง และ เขตอารักขาตังเกี๋ยในภาคเหนือ และเวียดนามยังมีจักรพรรดิเป็นประมุขเช่นเดิม แต่ต้องผ่านการคัดเลือกโดยข้าหลวงฝรั่งเศส และมีฐานะเป็นสัญลักษณ์ อำนาจในการบริหารการคลัง การทหาร และ การทูตเป็นของฝรั่งเศส ถือว่าเวียดนามสิ้นสุดฐานะเอกราชนับแต่นั้น
ยุคอาณานิคม[แก้]ดูบทความหลักที่: อินโดจีนฝรั่งเศส
แผนที่อินโดจีน ค.ศ. 1913.ฝรั่งเศสแสวงหาผลประโยชน์จากการปกครองเวียดนามทางด้านเศรษฐกิจ เวียดนามเป็นแหล่งปลูกข้าวและพืชเศรษฐกิจใหม่ ๆ เช่นกาแฟ และยางพารา ส่งออกไปยังฝรั่งเศสและเป็นวัตถุดิบแก่โรงงานในฝรั่งเศส ที่ดินในเวียดนามถูกยึดและตกเป็นของชาวฝรั่งเศส และเริ่มอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในเวียดนาม ขณะเดียวกันก็ส่งเสริมการศึกษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศสให้แพร่หลายในเวียดนาม ชาวเวียดนามส่วนหนึ่งได้รับการศึกษาแบบใหม่และเริ่มต้องการอิสระในการทำงานและมีส่วนร่วมในการปกครองประเทศ นำไปสู่การก่อตัวของกลุ่มชาตินิยมต่าง ๆ ที่เข้มแข็งที่สุดคือพรรคคอมมิวนิสต์อินโดจีนที่ตั้งขึ้นโดยโฮจิมินห์ ในปี พ.ศ. 2473 และต่อมาปรับเปลี่ยนเป็น กลุ่มเวียดมินห์ ได้นำชาวนาก่อการต่อต้านฝรั่งเศสในชนบท
ยุคเอกราช[แก้]ดูบทความหลักที่: เวียดนามเหนือ และ เวียดนามใต้พ.ศ. 2488 โฮจิมินห์รับมอบอำนาจจากจักรพรรดิบ๋าวได่และรับตำแหน่งประธานาธิบดีคนแรกหลังประกาศเอกราช แต่หลังจากนั้นฝรั่งเศสได้กลับเข้ามาขับไล่รัฐบาลของโฮจิมินห์และไม่ยอมรับเอกราชของเวียดนาม นำไปสู่สงครามจนในที่สุดฝรั่งเศสพ่ายแพ้แก่กองกำลังเวียดมินห์ที่ค่ายเดียนเบียนฟู ในปี พ.ศ. 2497 และมีการทำสนธิสัญญาเจนีวา ของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ยอมรับเอกราชของเวียดนาม แต่สหรัฐอเมริกาและชาวเวียดนามในภาคใต้บางส่วนไม่ต้องการรวมตัวกับรัฐบาลของโฮจิมินห์ ต่อมาได้ก่อตั้งดินแดนเวียดนามภาคใต้เป็นอีกประเทศหนึ่ง คือ สาธารณรัฐเวียดนาม (เวียดนามใต้) มีเมืองหลวงคือ ไซ่ง่อน ใช้เส้นละติจูดที่ 17 องศาเหนือแบ่งแยกกับเวียดนามส่วนเหนือใต้การปกครองของโฮจิมินห์ (เวียดนามเหนือ)
สงครามเวียดนาม[แก้]
สงครามเวียดนาม
ดูบทความหลักที่: สงครามเวียดนามเวียดนามเหนือไม่ยอมรับสถานภาพของเวียดนามใต้ ขณะที่สหรัฐอเมริกาได้ให้การช่วยเหลือทางทหารแก่เวียดนามใต้อย่างต่อเนื่อง รวมถึงการส่งทหารมาประจำในเวียดนามใต้เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เวียดนามเหนือประกาศทำสงครามเพื่อขับไล่และ ปลดปล่อย เวียดนามใต้จากสหรัฐอเมริกาและรวมเข้าเป็นประเทศเดียวกัน พร้อมให้การสนับสนุนกลุ่มชาวเวียดนามใต้ที่ต่อต้านสหรัฐอเมริกา (เวียดกง) ในการทำสงคราม
การรบส่วนใหญ่กลายเป็นการรบระหว่างทหารสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรจากต่างประเทศ กับกองกำลังเวียดกงและเวียดนามเหนือ ทั้งในชนบทและการโจมตีในเมือง แม้สหรัฐอเมริกาได้ทุ่มเทแสนยานุภาพอย่างเต็มที่แต่ก็ไม่อาจทำให้สงครามยุติลงได้ หลังการรุกโจมตีครั้งใหญ่ของเวียดนามเหนือและเวียดกงในปี พ.ศ. 2511 ที่เมืองเว้และเมืองหลักอื่น ๆ ในเวียดนามใต้ สหรัฐอเมริกาเริ่มเตรียมการถอนกำลังจากเวียดนามใต้และให้เวียดนามใต้ทำสงครามโดยลำพัง
สหรัฐอเมริกาถอนทหารจากเวียดนามใต้อย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2516 กองกำลังเวียดนามเหนือและเวียดกงจึงสามารถรุกเข้ายึดไซ่ง่อนและเวียดนามใต้ได้ทั้งหมดในปี พ.ศ. 2518 การรวมเวียดนามทั้งสองส่วนเข้าด้วยกันเกิดขึ้นในวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2519 และเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม นับแต่นั้น
หน่วยงานราชการและการเมือง[แก้]1.การเมืองของเวียดนามมีเสถียรภาพ เนื่องจากมีพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม เป็นองค์กรที่มีอำนาจ สูงสุดเพียงพรรคการเมืองเดียว ผูกขาดการชี้นำภายใต้ระบบผู้นำร่วม (collective leadership) ที่คานอำนาจระหว่างกลุ่มผู้นำ ได้แก่
- กลุ่มปฏิรูป ที่สนับสนุนการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ นำโดยอดีตนายกรัฐมนตรี ฟาน วัน ขาย
- กลุ่มอนุรักษนิยม ซึ่งต่อต้านหรือชะลอการเปิดประเทศ เพราะเกรงภัยของ “วิวัฒนาการที่สันติ” peaceful evolution) อันเนื่องมาจากการเปิดประเทศ และ
- กลุ่มที่เป็นกลาง ประนีประนอมระหว่างสองกลุ่มแรก นำโดยอดีตประธานาธิบดี เจิ่น ดึ๊ก เลือง ส่งผลให้รัฐบาลเวียดนามต้องปรับแนวทางการบริหารประเทศให้ยืดหยุ่นและเปิดกว้างมากขึ้น แต่ก็ไม่สามารถดำเนินไปได้ในย่างก้าวที่รวดเร็วนัก
3.สภาแห่งชาติชุดใหม่ได้เปิดประชุมเมื่อ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 โดยสภาได้มีมติสำคัญๆ คือ
- รับรองผลการเลือกตั้งเมื่อ 19 พฤษภาคม
- เลือกตั้งคณะกรรมการต่าง ๆ ประจำสภา
- การเลือกตั้งให้นายเหวียน วัน อาน ดำรงตำแหน่งประธานสภาต่อไป (เมื่อ 23 กรกฎาคม)
- การเลือกตั้งให้นายเจิ่น ดึ๊ก เลือง ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีต่อไป (เมื่อ 24 กรกฎาคม) และ
- เลือกตั้งให้นายฟาน วัน ขาย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อไป (เมื่อ 25 กรกฎาคม) และได้มีการปรับคณะรัฐมนตรีเมื่อ 8 สิงหาคม 2545 โดยในคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ 26 คน มีรัฐมนตรีที่ได้รับแต่งตั้งใหม่ 15 คน
4.แผนงานการปฏิรูประบบราชการสำหรับปี ค.ศ. 2001-2010 เน้น 4 ประเด็น ได้แก่ การปฏิรูประบบกฎหมาย การปฏิรูปโครงสร้างองค์กร การยกระดับความสามารถของข้าราชการ และการปฏิรูปด้านการคลัง
การทหาร[แก้]ดูบทความหลักที่: กองทัพเวียดนาม
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]ดูบทความหลักที่: จังหวัดของประเทศเวียดนาม, เทศบาลนครของประเทศเวียดนาม และ เขตของประเทศเวียดนาม
ลายเจิว
หล่าวกาย
ห่าซาง
กาวบั่ง
หลั่งเซิน
บั๊กกั่น
เตวียนกวาง
เอียนบ๊าย
เดี่ยนเบียน
เซินลา
ฟู้เถาะ
ท้ายเงวียน
ฮานอย
บั๊กซาง
กว๋างนิญ
ไฮฟอง
ท้ายบิ่ญ
นามดิ่ญ
นิญบิ่ญ
ฮหว่าบิ่ญ
ทัญฮว้า
เหงะอาน
ห่าติ๋ญ
กว๋างบิ่ญ
กว๋างจิ
เถื่อเทียน-เว้
ดานัง
กว๋างนาม
กอนตูม
กว๋างหงาย
ซาลาย
บิ่ญดิ่ญ
ดั๊กลัก
ฟู้เอียน
ดั๊กนง
คั้ญฮหว่า
เลิมด่ง
นิญถ่วน
บิ่ญถ่วน
บิ่ญเฟื้อก
ด่งนาย
บ่าเสียะ-หวุงเต่า
บิ่ญเซือง
เต็ยนิญ
ล็องอาน
ด่งท้าป
อานซาง
เกียนซาง
ก่าเมา
บักเลียว
ซ้อกจัง
จ่าวิญ
เบ๊นแจ
หวิญฟุก
บั๊กนิญ
หายเซือง
ฮึงเอียน
ห่านาม
นครโฮจิมินห์
เตี่ยนซาง
หวิญล็อง
เกิ่นเทอ
เหิ่วซาง
ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดง ชายฝั่งตอนกลางเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ ตะวันตกเฉียงเหนือ
ที่สูงตอนกลาง ชายฝั่งตอนกลางใต้ ตะวันออกเฉียงใต้ ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง
- อานซาง
- บักเลียว
- เบ๊นแจ
- ก่าเมา
- ด่งท้าป
- เหิ่วซาง
- เกียนซาง
- ล็องอาน
- ซ้อกจัง
- เตี่ยนซาง
- จ่าวิญ
- หวิญล็อง
- เกิ่นเทอ (เทศบาลนคร)
อ่าวหะล็อง
ชาวเวียดนามนิยมปลูกข้าวแบบขั้นบันไดเวียดนามเป็นประเทศที่มีลักษณะเป็นแนวยาว และ มีภูมิประเทศเป็นภูเขาสูงกั้นระหว่างที่ราบลุ่มแม่น้ำที่อุดมสมบูรณ์ทางตอนเหนือและใต้ แต่มีภูเขาที่มีป่าหนาทึบแค่ 20% โดยมีพันธุ์ไม้ 13,000 ชนิด และพันธุ์สัตว์กว่า 15,000 สายพันธุ์
ลักษณะภูมิประเทศ[แก้]
- มีที่ราบลุ่มแม่น้ำขนาดใหญ่ 2 ตอน คือ ตอนเหนือเป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำแดง และตอนใต้เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำโขง
- มีที่ราบสูงตอนเหนือของประเทศ และยังเป็นภูมิภาคที่มีเขา ซึ่งเป็นภูเขาที่สูง 3,143 เมตร (10,312 ฟุต)
- เป็นแบบมรสุมเขตร้อน ชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกเปิดโล่งรับลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดผ่านทะเลจีนใต้ ทำให้มีโอกาสรับลมมรสุมและพายุหมุนเขตร้อน จึงมีฝนตกชุกในฤดูหนาว สามารถปลูกข้าวได้ปีละ 2 ครั้ง (ฝนตกตลอดปี ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ)
- เป็นประเทศที่มีความชื้นประมาณร้อยละ 84 ตลอดปี มีอุณหภูมิเฉลี่ยตั้งแต่ 5 องศาเซลเซียส
เศรษฐกิจ[แก้]
ฮานอยมีเคียงนัมฮานอยแลนด์มาร์กทาวเวอร์ตึกที่สูงที่สุดในเวียดนามเกษตรกรรม[แก้]มีผลผลิตได้แก่ ข้าวเจ้า ยางพารา ชา กาแฟ ยาสูบ พริกไทย (ในปี พ.ศ. 2549 ส่งออกกว่า 116,000 ตัน) [10] การประมง เวียดนามจับปลาได้เป็นอันดับ 4 ของสินค้าส่งออก เช่น ปลาหมึก กุ้ง ตลาดที่สำคัญ คือ ญี่ปุ่น ไต้หวัน และสิงคโปร์
อุตสาหกรรม[แก้]อุตสาหกรรมที่สำคัญ คือ อุตสาหกรรมทอผ้า ศูนย์กลางอยู่ที่โฮจิมินห์ซิตีและมีนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้เบียนโฮ[11] การทำเหมืองแร่ที่สำคัญ คือ ถ่านหิน น้ำมันปิโตรเลียม และแก๊สธรรมชาติ เวียดนามเป็นประเทศส่งออกน้ำมันดิบรายใหญ่อันดับ 3 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รองจากอินโดนีเซียและมาเลเซีย [12]
สถานการณ์เศรษฐกิจ[แก้]
ท่าเรือไซ่ง่อนเวียดนามมีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว และเผชิญภาวะขาดแคลนพลังงานไฟฟ้า จึงมีการซื้อพลังงานไฟฟ้าจากมณฑลยูนนาน ประเทศจีน ตั้งแต่กันยายนปี 2004 [13] แม้ว่าเหตุผลทางเศรษฐกิจจะเป็นเหตุผลที่มีความสำคัญรองจากเหตุผลทางการเมืองและยุทธศาสตร์ในการที่อาเซียนรับเวียดนามเข้าเป็นสมาชิก แต่ก็ยังคงความสำคัญในระดับหนึ่งที่จะมองข้ามไปไม่ได้ความสัมพันธ์ทวิภาคีทางเศรษฐกิจระหว่างเวียดนามและประกาศถอนทหารออกจากกัมพูชา และเมื่อเวียดนามได้ลงนามในข้อตกลงสันติภาพที่กรุงปารีสในปี 1991
เหตุผลการเข้าเป็นสมาชิกอาเซียน[แก้]
- การสนับสนุนและความช่วยเหลือในการพัฒนาทางเศรษฐกิจของเวียดนาม ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อมจากประเทศสมาชิกอาเซียนซึ่งเวียดนามมองว่าเป็นสิ่งที่มาพร้อมกับการปรับสภาพแวดล้อมทางยุทธศาสตร์และการปรับนโยบายต่างประเทศ การเข้ารวมกลุ่มอาเซียนจะทำให้เวียดนามมีโอกาสได้เรียนรู้ประสบการณ์ในการพัฒนาประเทศจากสมาชิกต่างๆ อันจะมีส่วนเอื้ออำนวยและเร่งการพัฒนาของตนไปสู่ระบบเศรษฐกิจการตลาดซึ่งตั้งอยู่บนหลักการของการแข่งขันได้ในที่สุด
- เวียดนามให้ความสำคัญสูงสุดต่อการเข้าร่วมในระบบเศรษฐกิจของภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกและระบบเศรษฐกิจของโลก การเป็นสมาชิกของอาเซียนจะนำไปสู่การมีส่วนร่วมในเขตการค้าเสรีอาเซียน และนำเวียดนามไปสู่ความคุ้นเคยกับแนวทางปฏิบัติในการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในระดับโลก อันจะมีผลดีและเป็นปัจจัยประการหนึ่งที่จะผลักดันเวียดนามให้ก้าวไปสู้การเป็นสมาชิกของ APEC และ WTO ได้ในที่สุด
- ในฐานะของสมาชิกอาเซียน เวียดนามหวังที่จะได้รับประโยชน์จากการเพิ่มขึ้นของการค้าและการลงทุนกับประเทศอาเซียนทั้งหลาย ขณะเดียวกันในขณะที่การค้าภายในกลุ่มอาเซียนกำลังขยายตัว เวียดนามก็ได้ตระเตรียมและปรับทิศทางการส่งออกของตนที่จะไปสู่ตลาดอาเซียนนี้อย่างจริงจังมากขึ้น การนำเข้าของเวียดนามจากอาเซียนในขณะนี้เป็นครึ่งหนึ่งของการนำเข้าทั้งหมดของทั้งหมดของเวียดนาม และประมาณร้อยละ 30 ของการค้าทั้งหมดของเวียดนามที่มีกับอาเซียนนอกจากนี้ เวียดนามยังหวังว่าตนจะได้รับสิทธิพิเศษ GSP อย่างน้อย 10 ปีขึ้นไป และเวียดนามยังจะเป็นจุดส่งออกที่สำคัญสำหรับประเทศสมาชิกอาเซียนอื่น ๆ
ในปัจจุบัน ประเทศที่ได้รับการอนุมัติด้วยมูลค่าลงทุนมากที่สุดได้แก่สิงคโปร์ ซึ่งมีโครงการการลงทุนที่ได้รับการอนุมัติจำนวนโครงการ ด้วยมูลค่า 5.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ มูลค่าการลงทุนของประเทศสมาชิกอาเซียนในเวียดนามคิดได้เป็นร้อยละ 27.69 ของมูลค่าของการลงทุนต่างชาติทั้งสิ้นในเวียดนาม กล่าวคือในมูลค่า 8.14 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ จากมูลค่าของการลงทุนต่างชาติทั้งสิน 29.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยมีโครงการทั้งสิ้น 337 โครงการ โดยมาเลเซียลงทุนเป็นอันดับ 2 รองจากสิงคโปร์ ไทยลงทุนเป็นอันดับ 3 ประเภทของการลงทุนที่สมาชิกอาเซียนดำเนินการในเวียดนาม ได้แก่ อุตสาหกรรมการผลิต การก่อสร้างสำนักงาน ที่อยู่อาศัย การผลิตสินค้าอุปโภคบริโภคและการแปรรูปอาหาร เวียดนามหวังว่าการลงทุนจากประเทศสมาชิกอาเซียนนี้จะมีส่วนช่วยถ่วงดุลการลงทุนจากเกาหลีใต้ ไต้หวัน ฮ่องกง และญี่ปุ่น
ในขณะเดียวกันในส่วนของอาเซียน เหตุผลประการหนึ่งที่ทำให้อาเซียนยินดีรับเวียดนามเข้าเป็นสมาชิกก็คือ การเข้ารวมกลุ่มอาเซียนของเวียดนามนั้นจะมีผลไปเพิ่มความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจอีกทั้งอำนาจในการต่อรองทางการเมืองทั้งหลายต่างก็มีผลประโยชน์ที่สอดคล้องกัน ทั้งทางการเมืองและทางเศรษฐกิจร่วมกันอันนำไปสู่การยอมรับในที่สุด
ประเทศอัฟกานิสถานจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไบยังการนำทางไปยังการค้นหา
สาธารณรัฐอิสลามอัฟกานิสถาน
جمهوری اسلامی افغانستان (แดรี)
د افغانستان اسلامي جمهوریت (พาชตู)
ธงชาติตราแผ่นดิน
คำขวัญ:
"ไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากอัลลอฮ์ และมุฮัมมัดเป็นศาสนทูตของอัลลอฮ์"
เพลงชาติ: เพลงชาติอัฟกานิสถาน
MENU
0:00
เมืองหลวง
(และเมืองใหญ่สุด)คาบูล
34°30′N 69°10′E
ภาษาราชการภาษาพัชโตและภาษาดารี
การปกครองสาธารณรัฐอิสลาม
• ประธานาธิบดีอัชราฟ ฆานี
• ประธานฝ่ายบริหารอับดุลเลาะห์ อับดุลเลาะห์
ได้รับเอกราช
• จากสหราชอาณาจักร19 สิงหาคม พ.ศ. 2462
พื้นที่
• รวม647,500 ตร.กม. (40)
250,001 ตร.ไมล์
ประชากร
• พ.ศ. 2560 (ประเมิน)34,656,032[1] (40)
• ความหนาแน่น49.88 คน/ตร.กม. (150)
111.8 คน/ตร.ไมล์
จีดีพี (อำนาจซื้อ)2560 (ประมาณ)
• รวม$ 69.510 พันล้าน
• ต่อหัว$ 1,888
จีดีพี (ราคาตลาด)2560 (ประมาณ)
• รวม$ 21.056 พันล้าน
• ต่อหัว$ 572
HDI (2559) 0.479 (ต่ำ) (169th)
สกุลเงินอัฟกานี (AFN)
เขตเวลา(UTC+4:30)
• ฤดูร้อน (DST) (UTC+4:30)
โดเมนบนสุด.af
รหัสโทรศัพท์93อัฟกานิสถาน (อังกฤษ: Afghanistan; พัชโต: افغانستان) เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียใต้ มีอาณาเขตทางทิศตะวันตกจรดประเทศอิหร่าน ทางทิศใต้และตะวันออกติดปากีสถาน ทางทิศเหนือติดเติร์กเมนิสถาน อุซเบกิสถาน และทาจิกิสถาน ส่วนทางทิศตะวันออกสุดติดประเทศจีน อัฟกานิสถานเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล
ระหว่างการล้มตอลิบานโดยการรุกรานอัฟกานิสถานของสหรัฐอเมริกา และความสำเร็จของโลยา จีร์กา ในปี พ.ศ. 2546 ชาวตะวันตกเรียกอัฟกานิสถานว่า Transitional Islamic State of Afghanistan อย่างไรก็ดี ภายใต้รัฐธรรมนูญของอัฟกานิสถานฉบับปัจจุบัน ประเทศนี้เรียกว่า สาธารณรัฐอิสลามอัฟกานิสถาน ในปัจจุบันเป็นหนึ่งในประเทศที่ยากจนที่สุดในโลก
เนื้อหา
ประวัติศาสตร์[แก้]บทความหลัก:ประวัติศาสตร์อัฟกานิสถาน
คาบูล
องค์พระหลังถูกทำลายการเมืองการปกครอง[แก้]อัฟกานิสถานเคยมีระบอบการปกครองแบบรัฐสภา มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ จนกระทั่งปี 2516 พลโทซาดาร์ ข่าน (Sadar Khan) ได้ปฏิวัติยึดอำนาจ และเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบสาธารณรัฐและสถาปนาตนเองขึ้นเป็นประธานาธิบดี แต่ผู้นำอัฟกานิสถานในยุคต่อมาเริ่มมีท่าทีใกล้ชิดสหรัฐฯ ทำให้สหภาพโซเวียตไม่พอใจและส่งกองกำลังเข้ายึดครองอัฟกานิสถานในปี 2522 เพื่อสถาปนาระบอบการปกครองแบบสังคมนิยมขึ้นแทน
ระหว่างการยึดครองของสหภาพโซเวียต ปี 2522 - 2532 ได้เกิดขบวนการต่อต้านระบอบการปกครองแบบสังคมนิยมในนามกลุ่มมูจาฮีดีน ซึ่งได้โค่นล้มรัฐบาลที่เข้าข้างสหภาพโซเวียตได้สำเร็จในปี 2535 แต่กลับไม่สามารถร่วมกันปกครองประเทศได้ เพราะเกิดความแตกแยกและแย่งชิงอำนาจกัน ในที่สุดกลุ่มนักศึกษาหัวรุนแรงที่ได้รับการศึกษาจากปากีสถานได้รวมตัวกันจัดตั้งกองกำลังตอลิบานขึ้น และมีความเข้มแข็งจนสามารถยึดกรุงคาบูลได้ในปี 2539 ตั้งรัฐบาลตอลิบานขึ้นปกครองประเทศโดยครอบคลุมพื้นที่เกือบทั้งหมดอยู่จนถึงปี 2544
หลังเหตุการณ์ 911 ในปี 2544 สหรัฐฯ ได้ส่งกองกำลังเข้าโจมตีอัฟกานิสถานเพื่อโค่นล้มรัฐบาลตอลิบาน และมุ่งที่จะจับนายอุซามะห์ บิน ลาดิน (Osama Binladen) ซึ่งสหรัฐฯ สามารถโค่นล้มรัฐบาลตอลิบานได้สำเร็จในปลายปี 2544 และสหรัฐฯ สนับสนุนการจัดตั้งรัฐบาลชั่วคราวในอัฟกานิสถาน และมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบการเมืองการปกครองในอัฟกานิสถานมาโดยตลอดจนถึงปัจจุบัน
ตามรัฐธรรมนูญของอัฟกานิสถาน กำหนดให้ประธานาธิบดีเป็นประมุขและผู้นำในการบริหารประเทศ มีการกระจายอำนาจการปกครองออกเป็นจังหวัด แบ่งออกเป็น 34 จังหวัด (Province) อย่างไรก็ตาม ในแง่การบริหารจัดการระบบการปกครองภายในประเทศยังไม่ดีนัก เนื่องจากเพิ่งฟื้นตัวจากสงคราม และอำนาจของรัฐบาลกลางยังครอบคลุมไม่ทั่วถึงพื้นที่ห่างไกล
การบริหารรัฐบาลกลาง[แก้]ฝ่ายนิติบัญญัติมีรัฐสภา (National Assembly) ซึ่งประกอบด้วย 2 สภา ได้แก่ 1) สภาผู้แทนราษฎร (House of People หรือ Wolesi Jirga) ประกอบด้วยสมาชิกไม่เกิน 249 คน ได้รับการเลือกตั้งโดยตรง ดำรงตำแหน่งวาระ 5 ปี และ 2) สภาอาวุโส (House of Elders หรือ Meshrano Jirga) มีสมาชิก 102 คน ซึ่งแบ่งการสรรหาออกเป็น 3 วิธี ในจำนวนที่เท่า ๆ กัน โดยสมาชิก 34 คนได้รับเลือกจากคณะบริหารระดับจังหวัด (Provincial Council) ดำรงตำแหน่งวาระ 4 ปี สมาชิกอีก 34 คน ได้รับเลือกจากคณะบริหารระดับท้องถิ่น (Local District Council) ดำรงตำแหน่งวาระ 3 ปี และสมาชิกอีก 34 คน ได้รับแต่งตั้งจากประธานาธิบดี ดำรงตำแหน่งวาระ 5 ปี
นอกจากนี้ อาจมีการประชุมใหญ่ของผู้แทนทุกภาคส่วนที่เรียกว่า Loya Jirga ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกรัฐสภาทั้งหมดจากทั้งสองสภา ร่วมกับคณะกรรมการบริหารระดับจังหวัดและระดับท้องถิ่นทั้งหมด โดยที่ประชุมใหญ่นี้จะจัดขึ้นเฉพาะกรณีที่ต้องพิจารณาประเด็นระดับชาติเท่านั้น คือ ประเด็นที่เกี่ยวกับเอกราช อธิปไตยของชาติ และเกี่ยวกับดินแดน รวมถึงการฟ้องร้องประธานาธิบดี
ฝ่ายบริหารประธานาธิบดีเป็นทั้งประมุขและหัวหน้าฝ่ายบริหาร มีรองประธานาธิบดี 2 คน ซึ่งทั้งหมดดำรงตำแหน่งโดยการรับเลือกตั้งจากประชาชน มีวาระ 5 ปี และประธานาธิบดีคนปัจจุบัน คือ นาย Hamid Karzai ทั้งนี้ รัฐธรรมนูญให้อำนาจประธานาธิบดีแต่งตั้งรัฐมนตรีร่วมบริหารประเทศ โดยต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา และรัฐมนตรีมีจำนวนทั้งสิ้น 25 คน
กระทรวง[แก้]
ลำดับที่ชื่อกระทรวงภาษาไทยชื่อกระทรวงภาษาอังกฤษ
1กระทรวงเกษตร ชลประทานและปศุสัตว์Ministry of Agriculture, Irrigation and Livestock
2กระทรวงพาณิชย์และอุตสาหกรรมMinistry of Commerce and Industries
3กระทรวงการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศMinistry of Communications and Information Technology
4กระทรวงปราบปรามยาเสพติดMinistry of Counter Narcotics
5กระทรวงกลาโหมMinistry of Defense
6กระทรวงเศรษฐกิจMinistry of Economy
7กระทรวงศึกษาธิการMinistry of Education
8กระทรวงพลังงานและน้ำMinistry of Energy and Water
9กระทรวงการคลังMinistry of Finance
10กระทรวงการต่างประเทศMinistry of Foreign Affairs
11กระทรวงพรมแดน ประชาชาติและชนเผ่าMinistry of Frontiers, Nations and Tribal Affairs
12กระทรวงฮัจญ์และการศาสนาMinistry of Hajj and Religious Affairs
13กระทรวงการอุดมศึกษาMinistry of Higher Education
14กระทรวงข้อมูลและวัฒนธรรมMinistry of Information and Culture
15กระทรวงกิจการภายในMinistry of Interior Affairs
16กระทรวงยุติธรรมMinistry of Justice
17กระทรวงแรงงาน ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการและกิจการสังคมMinistry of Labor, Martyrs, Disabled, & Social Affairs
18กระทรวงเหมืองแร่และปิโตรเลียมMinistry of Mines & Petroleum
19กระทรวงสาธารณสุขMinistry of Public Health
20กระทรวงแรงงานสาธารณะMinistry of Public Works
21กระทรวงผู้ลี้ภัยและการส่งตัวกลับMinistry of Refugees & Repatriation
22กระทรวงการฟื้นฟูและพัฒนาชนบทMinistry of Rural Rehabilitation and Development
23กระทรวงคมนาคมและการบินพลเรือนMinistry of Transport and Civil Aviation
24กระทรวงการพัฒนาในเมืองและการเคหะMinistry of Urban Development & Housing
25กระทรวงกิจการสตรีMinistry of Women's Affairs
26สำนักงานอัยการสูงสุดAttorney General's Office
ฝ่ายตุลาการตามรัฐธรรมนูญฉบับใหม่กำหนดให้อัฟกานิสถานมีศาลฎีกา (Supreme Court) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า Stera Mahkama มีผู้พิพากษาจำนวน 9 คน แต่งตั้งโดยประธานาธิบดีและต้องให้สภาผู้แทนราษฎรให้ความเห็นชอบ ดำรงตำแหน่งวาระ 10 ปี รองลงมามีศาลสูง (High Court) และศาลอุทธรณ์ (Appeals Court) ด้วย
การบริหารระดับจังหวัด[แก้]แม้รัฐธรรมนูญจะกำหนดหน่วยงานระดับจังหวัดและท้องถิ่น คือ คณะบริหารระดับจังหวัด (Provincial Council) และคณะบริหารระดับท้องถิ่น (Local District Council) แล้ว แต่ดังที่กล่าวข้างต้นว่า ระบบการบริหารการปกครองของอัฟกานิสถานยังจัดการได้ไม่ดีนัก เนื่องจากเป็นระบบที่วางขึ้นใหม่ และอำนาจของรัฐบาลกลางยังอ่อนแอ ความเชื่อมโยงของการบริหารอำนาจระหว่างท้องถิ่นกับส่วนกลางจึงยังขาดความชัดเจน
การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]ประเทศอัฟกานิสถานแบ่งออกเป็น 34 จังหวัด หรือเรียกเป็นภาษาท้องถิ่นว่า เวลายัต (welayat) ได้แก่
แผนที่ประเทศอัฟกานิสถานแสดงจังหวัดเศรษฐกิจ[แก้]ประเทศอัฟกานิสถาน นอกจากถูกจัดให้เป็นประเทศที่ยากจนที่สุดในเอเชียแล้ว ยังครองอันดับ 1 ประเทศที่ยากจนที่สุดในโลกอีกด้วย[ต้องการอ้างอิง]
นักวิเคราะห์ชี้ว่า สาเหตุที่ประเทศอัฟกานิสถานมีฐานะยากจนมากที่สุดมีปัจจัยหลายสาเหตุด้วยกัน อาทิ ประชากรในอัฟกานิสถานว่างงานกว่า 35%, กว่า 36% มีความเป็นอยู่ต่ำกว่ามาตรฐานของโลก, 2 ใน 3 ของประชากรมีชีวิตอยู่ด้วยรายได้ที่น้อยกว่าวันละ 2 ดอลล่าสหรัฐ, เป็นประเทศที่อยู่ในภาวะสงคราม และรายได้หลักประมาณ 1 ใน 3 ของประเทศมาจากการลักลอบค้ายาเสพติด เช่น กัญชา ฝิ่น เป็นต้น[ต้องการอ้างอิง]
เกษตรกรรม[แก้]ส่วนใหญ่เป็นแบบยังชีพและเลี้ยงสัตว์เร่ร่อน พืชสำคัญที่ปลูกคือข้าวสาลี ฝ้าย และมีชื่อเสียงในการผลิตฝิ่นเพื่อผลิตยาเสพติด
ทรัพยากรธรรมชาติ[แก้]มีก๊าซธรรมชาติพบที่เมืองชีเบอร์กานใกล้พรมแดนประเทศเติร์กเมนิสถาน แหล่งผลิตก๊าซที่สำคัญของประเทศคือ ควาเจะห์ ราวัช และยาติม ตัก นอกจากนี้มีแหล่งน้ำมันที่ยังไม่ได้ขุดขึ้นมาใช้ และแหล่งถ่านหินในจังหวัดบากลานและจังหวัดบาลัก แร่ธาตุที่สำคัญ พบแร่เหล็กที่หัจญีกัต ใกล้กรุงคาบูล แร่ทองแดงพบที่อายนัก แร่ยูเรเนียมพบที่ ควาเจะห์ ราวัช อัญมณีในจังหวัดบาดักชาน และแร่อื่น ๆ อีกมาก
การท่องเที่ยว[แก้]ดูบทความหลักที่: การท่องเที่ยวในอัฟกานิสถาน
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้โครงสร้างพื้นฐาน[แก้]การคมนาคม และ โทรคมนาคม[แก้]เส้นทางคมนาคม[แก้]
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้
โทรคมนาคม[แก้]
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้การศึกษา[แก้]ดูบทความหลักที่: การศึกษาในประเทศอัฟกานิสถาน
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้สาธารณสุข[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ประชากรศาสตร์[แก้]เชื้อชาติ[แก้]เชื้อชาติ: ปุชตู 42% ทาจิก 27% ฮาซารา 9% อุซเบก 9% เติร์กเมน 3% บาลอช 2% อื่น ๆ เช่น ปาไช นูริสตานี บราหุ่ย และคิซิลเบช 4%
การอ่านออกเขียนได้: ตั้งแต่อายุ 15 ปี ร้อยละ 36 (เป็นชาย 51% หญิง 21%)
GDP : 800 ดอลลาร์สหรัฐ/คน/ปี (ปี 2548)
เมืองใหญ่ที่สุดในอัฟกานิสถาน
2010-11 estimate[2]
ที่เมืองจังหวัดประชากร
คาบูล
คันดาฮาร์1คาบูลจังหวัดคาบูล3,071,400
เฮราต
มาซาร์-ไอ-ซาร์ริฟ
2คันดาฮาร์จังหวัดคันดาฮาร์512,000
3เฮราตจังหวัดเฮราต397,456
4มาซาร์-ไอ-ซาร์ริฟจังหวัดบอล์คห์375,000
5จาลาลาแบดจังหวัดนานการ์ฮาร์205,423
6ลัชคาร์การ์จังหวัดเฮลเมน201,546
7ทาโลควานจังหวัดทาคาร์196,400
8โคสท์จังหวัดโคสท์160,214
9เชเบอร์กันจังหวัดโจวซ์จาน148,329
10กาซนิจังหวัดกาซนิ141,000ศาสนา[แก้]ดูบทความหลักที่: ศาสนาในประเทศอัฟกานิสถานในอดีตประเทศอัฟกานิสถานได้นับถือพระพุทธศาสนา พระเจ้าเมนันเดอร์ ที่ 1 หรือ พระเจ้ามิลินท์และพระนาคเสน ก็เป็นประจักษ์พยานของการมีอยู่ของพระพุทธศาสนาในอดีต และมีหลักฐาน เช่น พระพุทธรูปบามิยัน ที่เมืองบามิยันซึ่งมีอายุมากกว่า 2,000 ปี แต่ต่อมาในยุคหลังได้ถูกพวกตาลีบันทำลายทิ้งทั้งหมด
ชาวอัฟกานิสถานในปัจจุบันส่วนมากนับถือศาสนาอิสลาม[(98%)] (สุหนี่83.2%) (ชีอะห์14.9%) [(ศาสนาโซโรอัสเตอร์1.4%)] [(ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู0.4%)] [(ศาสนาพุทธ0.3%)] [(ศาสนาคริสต์0.1%)]
สำหรับบทความหลักในหมวดหมู่นี้ ดู พุทธศาสนาในประเทศอัฟกานิสถานภาษา[แก้]อัฟกานิสถานเป็น ชนเชื้อสายอิหร่าน ที่พูดภาษากลุ่มอิหร่าน เช่น ภาษาพาซตู 35% ภาษาดารีเปอร์เซีย 56% ภาษากลุ่มเติร์ก (ส่วนใหญ่เป็นภาษาอุซเบก และภาษาเติร์กเมน) 11% และภาษาของชนเผ่าอีก 30 ภาษา รวมเป็น 4% ประชากรส่วนใหญ่พูดได้ 2 ภาษา
ดูรายชื่อภาษทั้งหมดได้ที่หมวดหมู่:ภาษาในประเทศอัฟกานิสถาน
วัฒนธรรม[แก้]ดูบทความหลักที่: วัฒนธรรมอัฟกานิสถานเทศกาล[แก้]แม้จะเป็นประเทศที่ยากจน แต่ชาวอัฟกันก็ยังคงเฉลิมฉลองเทศกาลสำคัญทางศาสนาอิสลาม โดยเฉพาะเทศกาลรอมฏอน ซึ่งเป็นการสิ้นสุดของการถือศีลอดอันศักดิ์สิทธิ์ ประชาชนจะไปเยี่ยมเพื่อนหรือครอบครัวและรับประทานอาหารฉลองร่วมกัน ศิลปะแกรเต้นรำ attan ยังคงเฟื่องฟูในอัฟกานิสถาน
อาหารอัฟกานิสถาน
สือสารมวลชน[แก้]ดูบทความหลักที่: สือสารมวลชนในประเทศอัฟกานิสถานกีฬา[แก้]ดูบทความหลักที่: กีฬาในประเทศอัฟกานิสถาน, อัฟกานิสถานในโอลิมปิก และ อัฟกานิสถานในพาราลิมปิกวันหยุด[แก้]ดูบทความหลักที่: รายชื่อวันสำคัญอัฟกานิสถานอ้างอิง[แก้]คอมมอนส์ มีภาพและสื่ออื่นๆ เกี่ยวกับ:
ประเทศอัฟกานิสถาน
ไบยังการนำทางไปยังการค้นหา
สาธารณรัฐอิสลามอัฟกานิสถาน
جمهوری اسلامی افغانستان (แดรี)
د افغانستان اسلامي جمهوریت (พาชตู)
ธงชาติตราแผ่นดิน
คำขวัญ:
"ไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากอัลลอฮ์ และมุฮัมมัดเป็นศาสนทูตของอัลลอฮ์"
เพลงชาติ: เพลงชาติอัฟกานิสถาน
MENU
0:00
เมืองหลวง
(และเมืองใหญ่สุด)คาบูล
34°30′N 69°10′E
ภาษาราชการภาษาพัชโตและภาษาดารี
การปกครองสาธารณรัฐอิสลาม
• ประธานาธิบดีอัชราฟ ฆานี
• ประธานฝ่ายบริหารอับดุลเลาะห์ อับดุลเลาะห์
ได้รับเอกราช
• จากสหราชอาณาจักร19 สิงหาคม พ.ศ. 2462
พื้นที่
• รวม647,500 ตร.กม. (40)
250,001 ตร.ไมล์
ประชากร
• พ.ศ. 2560 (ประเมิน)34,656,032[1] (40)
• ความหนาแน่น49.88 คน/ตร.กม. (150)
111.8 คน/ตร.ไมล์
จีดีพี (อำนาจซื้อ)2560 (ประมาณ)
• รวม$ 69.510 พันล้าน
• ต่อหัว$ 1,888
จีดีพี (ราคาตลาด)2560 (ประมาณ)
• รวม$ 21.056 พันล้าน
• ต่อหัว$ 572
HDI (2559) 0.479 (ต่ำ) (169th)
สกุลเงินอัฟกานี (AFN)
เขตเวลา(UTC+4:30)
• ฤดูร้อน (DST) (UTC+4:30)
โดเมนบนสุด.af
รหัสโทรศัพท์93อัฟกานิสถาน (อังกฤษ: Afghanistan; พัชโต: افغانستان) เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียใต้ มีอาณาเขตทางทิศตะวันตกจรดประเทศอิหร่าน ทางทิศใต้และตะวันออกติดปากีสถาน ทางทิศเหนือติดเติร์กเมนิสถาน อุซเบกิสถาน และทาจิกิสถาน ส่วนทางทิศตะวันออกสุดติดประเทศจีน อัฟกานิสถานเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล
ระหว่างการล้มตอลิบานโดยการรุกรานอัฟกานิสถานของสหรัฐอเมริกา และความสำเร็จของโลยา จีร์กา ในปี พ.ศ. 2546 ชาวตะวันตกเรียกอัฟกานิสถานว่า Transitional Islamic State of Afghanistan อย่างไรก็ดี ภายใต้รัฐธรรมนูญของอัฟกานิสถานฉบับปัจจุบัน ประเทศนี้เรียกว่า สาธารณรัฐอิสลามอัฟกานิสถาน ในปัจจุบันเป็นหนึ่งในประเทศที่ยากจนที่สุดในโลก
เนื้อหา
- 1ภูมิศาสตร์
- 2ประวัติศาสตร์
- 3การเมืองการปกครอง
- 4การแบ่งเขตการปกครอง
- 5เศรษฐกิจ
- 6โครงสร้างพื้นฐาน
- 7ประชากรศาสตร์
- 8วัฒนธรรม
- 9อ้างอิง
- 10หนังสืออ่านเพิ่ม
- 11แหล่งข้อมูลอื่น
ประวัติศาสตร์[แก้]บทความหลัก:ประวัติศาสตร์อัฟกานิสถาน
- พ.ศ. 2423 (ค.ศ. 1880) อังกฤษได้สถาปนาอับดุรเราะฮฺมาน เป็นอะมีร หลังจากที่ได้มีการรบราฆ่าฟัน ระหว่างเผ่าต่าง ๆ ในอัฟกานิสถานมาเป็นเวลานาน
- พ.ศ. 2444 (ค.ศ. 1901) อับดุรเราะฮฺมาน เสียชีวิต บุตรชายชื่อ ฮะบีบุลลอหฺ ขึ้นดำรงตำแหน่งแทน
- พ.ศ. 2462 (ค.ศ. 1919) ฮะบีบุลลอหฺ ถูกสังหาร น้องชายชื่อ นัศรุลลอหฺ สถาปนาตนเองขึ้นเป็นอะมีร แต่ถูก อะมานุลลอหฺ บุตรชายของ ฮะบีบุลลอหฺ ขับไล่ แล้วขึ้นปกครองแทน
- พ.ศ. 2472 (ค.ศ. 1929) ขบวนการพวกเคร่งศาสนา ก่อการปฏิวัติ อะมีร ฮะบีบุลลอฮฺ หลบหนีออกนอกประเทศ สงครามกลางเมืองเกิดขึ้น บาชา อี ซาเกา นายทหารของเผ่าตาจิก ได้นำพลทหารเข้ายึดกรุงคาบูล เป็นเวลาหลายเดือน ต่อมาญาติคนหนึ่งของ อะมีร ฮะบีบุลลอหฺ ปราบปรามจนถูกสังหาร แล้วญาติคนนั้นก็สถาปนาตนเองขึ้นเป็นกษัตริย์ มีนามว่า นาดีร ชาหฺ
- พ.ศ. 2476 (ค.ศ. 1933) กษัตริย์ นาดีร ชาหฺ ถูกสังหาร บุตรชายชื่อ ซอหิร ชาหฺ ขึ้นเป็นกษัตริย์
- พ.ศ. 2516 (ค.ศ. 1973) ดาวูด ซึ่งเป็นลูกพี่ลูกน้องของกษัตริย์ ซอหิร ชาหฺ ก่อการปฏิวัติ กษัตริย์ ซอหิร ชาหฺ หนีไปลี้ภัยในอิตาลี ดาวูดสถาปนาตนเองขึ้นเป็นประธานาธิบดี
- พ.ศ. 2521 (ค.ศ. 1978) ดาวูด ถูกสังหาร หลังการปฏิวัติคอมมิวนิสต์ นำโดย นูร มุฮัมมัด ฏอรอกี
- พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) ฏอรอกี ถูกสังหาร และ ฮะฟีซุลลอหฺ อะมีน สถาปนาตนเองขึ้นเป็นประธานาธิบดี
- เดือนธันวาคม ฮะฟีซุลลอหฺ อะมีน ถูกสังหาร โดยกองทัพที่ถูกส่งเข้ามาจากสหภาพโซเวียต บาบรัก การ์มาล ขึ้นเป็นประธานาธิบดี
- บาบรัก การ์มาล ถูกถอดออกจากตำแหน่ง และหนีไปสหภาพโซเวียต นะญีบุลลอหฺ ขึ้นเป็นประธานาธิบดี
- พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) พวกมุจาหิดีนอิสลาม ประสบความสำเร็จในการปฏิวัติต่อต้านคอมมิวนิสต์ ก่อตั้งรัฐบาลชั่วคราว โดยมี ซิบฆอตุลลอหฺ มุจัดดิดี เป็นประธานาธิบดี ต่อมา บุรฮานุดดีน ร่อบบบานี ขึ้นเป็นประธานาธิบดี สงครามกลางเมืองเกิดขึ้น
- พ.ศ. 2539 (ค.ศ. 1996) กลุ่มตอลิบานยึดกรุงคาบูลได้
- พ.ศ. 2544 (ค.ศ. 2001) พระพุทธรูปแห่งบามิยันถูกทำลาย กลุ่มตอลิบานถูกขับไล่ออกจากกรุงคาบูล โดยพันธมิตรฝ่ายเหนือที่สหรัฐสนับสนุน สหรัฐอเมริกาผลักดันให้นายฮามิด การฺซาย เป็นประธานาธิบดีชั่วคราว
คาบูล
องค์พระหลังถูกทำลายการเมืองการปกครอง[แก้]อัฟกานิสถานเคยมีระบอบการปกครองแบบรัฐสภา มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ จนกระทั่งปี 2516 พลโทซาดาร์ ข่าน (Sadar Khan) ได้ปฏิวัติยึดอำนาจ และเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบสาธารณรัฐและสถาปนาตนเองขึ้นเป็นประธานาธิบดี แต่ผู้นำอัฟกานิสถานในยุคต่อมาเริ่มมีท่าทีใกล้ชิดสหรัฐฯ ทำให้สหภาพโซเวียตไม่พอใจและส่งกองกำลังเข้ายึดครองอัฟกานิสถานในปี 2522 เพื่อสถาปนาระบอบการปกครองแบบสังคมนิยมขึ้นแทน
ระหว่างการยึดครองของสหภาพโซเวียต ปี 2522 - 2532 ได้เกิดขบวนการต่อต้านระบอบการปกครองแบบสังคมนิยมในนามกลุ่มมูจาฮีดีน ซึ่งได้โค่นล้มรัฐบาลที่เข้าข้างสหภาพโซเวียตได้สำเร็จในปี 2535 แต่กลับไม่สามารถร่วมกันปกครองประเทศได้ เพราะเกิดความแตกแยกและแย่งชิงอำนาจกัน ในที่สุดกลุ่มนักศึกษาหัวรุนแรงที่ได้รับการศึกษาจากปากีสถานได้รวมตัวกันจัดตั้งกองกำลังตอลิบานขึ้น และมีความเข้มแข็งจนสามารถยึดกรุงคาบูลได้ในปี 2539 ตั้งรัฐบาลตอลิบานขึ้นปกครองประเทศโดยครอบคลุมพื้นที่เกือบทั้งหมดอยู่จนถึงปี 2544
หลังเหตุการณ์ 911 ในปี 2544 สหรัฐฯ ได้ส่งกองกำลังเข้าโจมตีอัฟกานิสถานเพื่อโค่นล้มรัฐบาลตอลิบาน และมุ่งที่จะจับนายอุซามะห์ บิน ลาดิน (Osama Binladen) ซึ่งสหรัฐฯ สามารถโค่นล้มรัฐบาลตอลิบานได้สำเร็จในปลายปี 2544 และสหรัฐฯ สนับสนุนการจัดตั้งรัฐบาลชั่วคราวในอัฟกานิสถาน และมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบการเมืองการปกครองในอัฟกานิสถานมาโดยตลอดจนถึงปัจจุบัน
ตามรัฐธรรมนูญของอัฟกานิสถาน กำหนดให้ประธานาธิบดีเป็นประมุขและผู้นำในการบริหารประเทศ มีการกระจายอำนาจการปกครองออกเป็นจังหวัด แบ่งออกเป็น 34 จังหวัด (Province) อย่างไรก็ตาม ในแง่การบริหารจัดการระบบการปกครองภายในประเทศยังไม่ดีนัก เนื่องจากเพิ่งฟื้นตัวจากสงคราม และอำนาจของรัฐบาลกลางยังครอบคลุมไม่ทั่วถึงพื้นที่ห่างไกล
การบริหารรัฐบาลกลาง[แก้]ฝ่ายนิติบัญญัติมีรัฐสภา (National Assembly) ซึ่งประกอบด้วย 2 สภา ได้แก่ 1) สภาผู้แทนราษฎร (House of People หรือ Wolesi Jirga) ประกอบด้วยสมาชิกไม่เกิน 249 คน ได้รับการเลือกตั้งโดยตรง ดำรงตำแหน่งวาระ 5 ปี และ 2) สภาอาวุโส (House of Elders หรือ Meshrano Jirga) มีสมาชิก 102 คน ซึ่งแบ่งการสรรหาออกเป็น 3 วิธี ในจำนวนที่เท่า ๆ กัน โดยสมาชิก 34 คนได้รับเลือกจากคณะบริหารระดับจังหวัด (Provincial Council) ดำรงตำแหน่งวาระ 4 ปี สมาชิกอีก 34 คน ได้รับเลือกจากคณะบริหารระดับท้องถิ่น (Local District Council) ดำรงตำแหน่งวาระ 3 ปี และสมาชิกอีก 34 คน ได้รับแต่งตั้งจากประธานาธิบดี ดำรงตำแหน่งวาระ 5 ปี
นอกจากนี้ อาจมีการประชุมใหญ่ของผู้แทนทุกภาคส่วนที่เรียกว่า Loya Jirga ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกรัฐสภาทั้งหมดจากทั้งสองสภา ร่วมกับคณะกรรมการบริหารระดับจังหวัดและระดับท้องถิ่นทั้งหมด โดยที่ประชุมใหญ่นี้จะจัดขึ้นเฉพาะกรณีที่ต้องพิจารณาประเด็นระดับชาติเท่านั้น คือ ประเด็นที่เกี่ยวกับเอกราช อธิปไตยของชาติ และเกี่ยวกับดินแดน รวมถึงการฟ้องร้องประธานาธิบดี
ฝ่ายบริหารประธานาธิบดีเป็นทั้งประมุขและหัวหน้าฝ่ายบริหาร มีรองประธานาธิบดี 2 คน ซึ่งทั้งหมดดำรงตำแหน่งโดยการรับเลือกตั้งจากประชาชน มีวาระ 5 ปี และประธานาธิบดีคนปัจจุบัน คือ นาย Hamid Karzai ทั้งนี้ รัฐธรรมนูญให้อำนาจประธานาธิบดีแต่งตั้งรัฐมนตรีร่วมบริหารประเทศ โดยต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา และรัฐมนตรีมีจำนวนทั้งสิ้น 25 คน
กระทรวง[แก้]
ลำดับที่ชื่อกระทรวงภาษาไทยชื่อกระทรวงภาษาอังกฤษ
1กระทรวงเกษตร ชลประทานและปศุสัตว์Ministry of Agriculture, Irrigation and Livestock
2กระทรวงพาณิชย์และอุตสาหกรรมMinistry of Commerce and Industries
3กระทรวงการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศMinistry of Communications and Information Technology
4กระทรวงปราบปรามยาเสพติดMinistry of Counter Narcotics
5กระทรวงกลาโหมMinistry of Defense
6กระทรวงเศรษฐกิจMinistry of Economy
7กระทรวงศึกษาธิการMinistry of Education
8กระทรวงพลังงานและน้ำMinistry of Energy and Water
9กระทรวงการคลังMinistry of Finance
10กระทรวงการต่างประเทศMinistry of Foreign Affairs
11กระทรวงพรมแดน ประชาชาติและชนเผ่าMinistry of Frontiers, Nations and Tribal Affairs
12กระทรวงฮัจญ์และการศาสนาMinistry of Hajj and Religious Affairs
13กระทรวงการอุดมศึกษาMinistry of Higher Education
14กระทรวงข้อมูลและวัฒนธรรมMinistry of Information and Culture
15กระทรวงกิจการภายในMinistry of Interior Affairs
16กระทรวงยุติธรรมMinistry of Justice
17กระทรวงแรงงาน ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการและกิจการสังคมMinistry of Labor, Martyrs, Disabled, & Social Affairs
18กระทรวงเหมืองแร่และปิโตรเลียมMinistry of Mines & Petroleum
19กระทรวงสาธารณสุขMinistry of Public Health
20กระทรวงแรงงานสาธารณะMinistry of Public Works
21กระทรวงผู้ลี้ภัยและการส่งตัวกลับMinistry of Refugees & Repatriation
22กระทรวงการฟื้นฟูและพัฒนาชนบทMinistry of Rural Rehabilitation and Development
23กระทรวงคมนาคมและการบินพลเรือนMinistry of Transport and Civil Aviation
24กระทรวงการพัฒนาในเมืองและการเคหะMinistry of Urban Development & Housing
25กระทรวงกิจการสตรีMinistry of Women's Affairs
26สำนักงานอัยการสูงสุดAttorney General's Office
ฝ่ายตุลาการตามรัฐธรรมนูญฉบับใหม่กำหนดให้อัฟกานิสถานมีศาลฎีกา (Supreme Court) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า Stera Mahkama มีผู้พิพากษาจำนวน 9 คน แต่งตั้งโดยประธานาธิบดีและต้องให้สภาผู้แทนราษฎรให้ความเห็นชอบ ดำรงตำแหน่งวาระ 10 ปี รองลงมามีศาลสูง (High Court) และศาลอุทธรณ์ (Appeals Court) ด้วย
การบริหารระดับจังหวัด[แก้]แม้รัฐธรรมนูญจะกำหนดหน่วยงานระดับจังหวัดและท้องถิ่น คือ คณะบริหารระดับจังหวัด (Provincial Council) และคณะบริหารระดับท้องถิ่น (Local District Council) แล้ว แต่ดังที่กล่าวข้างต้นว่า ระบบการบริหารการปกครองของอัฟกานิสถานยังจัดการได้ไม่ดีนัก เนื่องจากเป็นระบบที่วางขึ้นใหม่ และอำนาจของรัฐบาลกลางยังอ่อนแอ ความเชื่อมโยงของการบริหารอำนาจระหว่างท้องถิ่นกับส่วนกลางจึงยังขาดความชัดเจน
การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]ประเทศอัฟกานิสถานแบ่งออกเป็น 34 จังหวัด หรือเรียกเป็นภาษาท้องถิ่นว่า เวลายัต (welayat) ได้แก่
- 12 เฮราต
- 13 เจาซ์จัน
- 14 คาบูล
- 15 กันดะฮาร์
- 16 กาปิซา
- 17 คอสต์
- 18 โกนาร์
- 19 กอนดอซ
- 20 ลักมาน
- 21 เลาการ์
- 22 นันการ์ฮาร์
- 23 นิมรุซ
- 24 นูเรสถาน
- 25 โอรุซกัน
- 26 ปักเตีย
- 27 ปักติกา
- 28 ปันจ์ชีร์
- 29 ปาร์วัน
- 30 ซามันกัน
- 31 ซารีโปล
- 32 ตาคาร์
- 33 วาร์ดัก
- 34 ซาโบล
แผนที่ประเทศอัฟกานิสถานแสดงจังหวัดเศรษฐกิจ[แก้]ประเทศอัฟกานิสถาน นอกจากถูกจัดให้เป็นประเทศที่ยากจนที่สุดในเอเชียแล้ว ยังครองอันดับ 1 ประเทศที่ยากจนที่สุดในโลกอีกด้วย[ต้องการอ้างอิง]
นักวิเคราะห์ชี้ว่า สาเหตุที่ประเทศอัฟกานิสถานมีฐานะยากจนมากที่สุดมีปัจจัยหลายสาเหตุด้วยกัน อาทิ ประชากรในอัฟกานิสถานว่างงานกว่า 35%, กว่า 36% มีความเป็นอยู่ต่ำกว่ามาตรฐานของโลก, 2 ใน 3 ของประชากรมีชีวิตอยู่ด้วยรายได้ที่น้อยกว่าวันละ 2 ดอลล่าสหรัฐ, เป็นประเทศที่อยู่ในภาวะสงคราม และรายได้หลักประมาณ 1 ใน 3 ของประเทศมาจากการลักลอบค้ายาเสพติด เช่น กัญชา ฝิ่น เป็นต้น[ต้องการอ้างอิง]
เกษตรกรรม[แก้]ส่วนใหญ่เป็นแบบยังชีพและเลี้ยงสัตว์เร่ร่อน พืชสำคัญที่ปลูกคือข้าวสาลี ฝ้าย และมีชื่อเสียงในการผลิตฝิ่นเพื่อผลิตยาเสพติด
ทรัพยากรธรรมชาติ[แก้]มีก๊าซธรรมชาติพบที่เมืองชีเบอร์กานใกล้พรมแดนประเทศเติร์กเมนิสถาน แหล่งผลิตก๊าซที่สำคัญของประเทศคือ ควาเจะห์ ราวัช และยาติม ตัก นอกจากนี้มีแหล่งน้ำมันที่ยังไม่ได้ขุดขึ้นมาใช้ และแหล่งถ่านหินในจังหวัดบากลานและจังหวัดบาลัก แร่ธาตุที่สำคัญ พบแร่เหล็กที่หัจญีกัต ใกล้กรุงคาบูล แร่ทองแดงพบที่อายนัก แร่ยูเรเนียมพบที่ ควาเจะห์ ราวัช อัญมณีในจังหวัดบาดักชาน และแร่อื่น ๆ อีกมาก
การท่องเที่ยว[แก้]ดูบทความหลักที่: การท่องเที่ยวในอัฟกานิสถาน
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้โครงสร้างพื้นฐาน[แก้]การคมนาคม และ โทรคมนาคม[แก้]เส้นทางคมนาคม[แก้]
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้
โทรคมนาคม[แก้]
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้การศึกษา[แก้]ดูบทความหลักที่: การศึกษาในประเทศอัฟกานิสถาน
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้สาธารณสุข[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ประชากรศาสตร์[แก้]เชื้อชาติ[แก้]เชื้อชาติ: ปุชตู 42% ทาจิก 27% ฮาซารา 9% อุซเบก 9% เติร์กเมน 3% บาลอช 2% อื่น ๆ เช่น ปาไช นูริสตานี บราหุ่ย และคิซิลเบช 4%
การอ่านออกเขียนได้: ตั้งแต่อายุ 15 ปี ร้อยละ 36 (เป็นชาย 51% หญิง 21%)
GDP : 800 ดอลลาร์สหรัฐ/คน/ปี (ปี 2548)
เมืองใหญ่ที่สุดในอัฟกานิสถาน
2010-11 estimate[2]
ที่เมืองจังหวัดประชากร
คาบูล
คันดาฮาร์1คาบูลจังหวัดคาบูล3,071,400
เฮราต
มาซาร์-ไอ-ซาร์ริฟ
2คันดาฮาร์จังหวัดคันดาฮาร์512,000
3เฮราตจังหวัดเฮราต397,456
4มาซาร์-ไอ-ซาร์ริฟจังหวัดบอล์คห์375,000
5จาลาลาแบดจังหวัดนานการ์ฮาร์205,423
6ลัชคาร์การ์จังหวัดเฮลเมน201,546
7ทาโลควานจังหวัดทาคาร์196,400
8โคสท์จังหวัดโคสท์160,214
9เชเบอร์กันจังหวัดโจวซ์จาน148,329
10กาซนิจังหวัดกาซนิ141,000ศาสนา[แก้]ดูบทความหลักที่: ศาสนาในประเทศอัฟกานิสถานในอดีตประเทศอัฟกานิสถานได้นับถือพระพุทธศาสนา พระเจ้าเมนันเดอร์ ที่ 1 หรือ พระเจ้ามิลินท์และพระนาคเสน ก็เป็นประจักษ์พยานของการมีอยู่ของพระพุทธศาสนาในอดีต และมีหลักฐาน เช่น พระพุทธรูปบามิยัน ที่เมืองบามิยันซึ่งมีอายุมากกว่า 2,000 ปี แต่ต่อมาในยุคหลังได้ถูกพวกตาลีบันทำลายทิ้งทั้งหมด
ชาวอัฟกานิสถานในปัจจุบันส่วนมากนับถือศาสนาอิสลาม[(98%)] (สุหนี่83.2%) (ชีอะห์14.9%) [(ศาสนาโซโรอัสเตอร์1.4%)] [(ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู0.4%)] [(ศาสนาพุทธ0.3%)] [(ศาสนาคริสต์0.1%)]
สำหรับบทความหลักในหมวดหมู่นี้ ดู พุทธศาสนาในประเทศอัฟกานิสถานภาษา[แก้]อัฟกานิสถานเป็น ชนเชื้อสายอิหร่าน ที่พูดภาษากลุ่มอิหร่าน เช่น ภาษาพาซตู 35% ภาษาดารีเปอร์เซีย 56% ภาษากลุ่มเติร์ก (ส่วนใหญ่เป็นภาษาอุซเบก และภาษาเติร์กเมน) 11% และภาษาของชนเผ่าอีก 30 ภาษา รวมเป็น 4% ประชากรส่วนใหญ่พูดได้ 2 ภาษา
ดูรายชื่อภาษทั้งหมดได้ที่หมวดหมู่:ภาษาในประเทศอัฟกานิสถาน
วัฒนธรรม[แก้]ดูบทความหลักที่: วัฒนธรรมอัฟกานิสถานเทศกาล[แก้]แม้จะเป็นประเทศที่ยากจน แต่ชาวอัฟกันก็ยังคงเฉลิมฉลองเทศกาลสำคัญทางศาสนาอิสลาม โดยเฉพาะเทศกาลรอมฏอน ซึ่งเป็นการสิ้นสุดของการถือศีลอดอันศักดิ์สิทธิ์ ประชาชนจะไปเยี่ยมเพื่อนหรือครอบครัวและรับประทานอาหารฉลองร่วมกัน ศิลปะแกรเต้นรำ attan ยังคงเฟื่องฟูในอัฟกานิสถาน
อาหารอัฟกานิสถาน
สือสารมวลชน[แก้]ดูบทความหลักที่: สือสารมวลชนในประเทศอัฟกานิสถานกีฬา[แก้]ดูบทความหลักที่: กีฬาในประเทศอัฟกานิสถาน, อัฟกานิสถานในโอลิมปิก และ อัฟกานิสถานในพาราลิมปิกวันหยุด[แก้]ดูบทความหลักที่: รายชื่อวันสำคัญอัฟกานิสถานอ้างอิง[แก้]คอมมอนส์ มีภาพและสื่ออื่นๆ เกี่ยวกับ:
ประเทศอัฟกานิสถาน
- ↑ "การประเมินประชากรโลก พ.ศ. 2560". ESA.UN.org (custom data acquired via website). United Nations Department of Economic and Social Affairs, Population Division. สืบค้นเมื่อ 10 กันยายน พ.ศ. 2560.
- ↑ "Table 2-2: Settled Population by Province-2010-2011" (PDF). Central Statistics Office. 2010–2011. สืบค้นเมื่อ April 4, 2012.
- Banting, Erinn. (2003). Afghanistan the People. Crabtree Publishing Company. ISBN 978-0-7787-9336-6. Archived from [ประเทศอัฟกานิสถาน ที่ Google Books the original] Check |url= value (help) on 12 January 2014.
- Bleaney, C. H; Gallego, María Ángeles (2006). Afghanistan: a bibliography. BRILL. ISBN 978-90-04-14532-0. Archived from [ประเทศอัฟกานิสถาน ที่ Google Books the original] Check |url= value (help) on 12 January 2014.
- Clements, Frank (2003). Conflict in Afghanistan: a Historical Encyclopedia. ABC-CLIO. ISBN 978-1-85109-402-8. Archived from [ประเทศอัฟกานิสถาน ที่ Google Books the original] Check |url= value (help) on 12 January 2014.
- Fowler, Corinne (2007). Chasing Tales: Travel Writing, Journalism and the History of British Ideas About Afghanistan. Rodopi. ISBN 978-90-420-2262-1. Archived from [ประเทศอัฟกานิสถาน ที่ Google Books the original] Check |url= value (help) on 12 January 2014.
- Griffiths, John C (2001). Afghanistan: a History of Conflict. Carlton Books. ISBN 978-1-84222-597-4. Archived from [ประเทศอัฟกานิสถาน ที่ Google Books the original] Check |url= value (help) on 12 January 2014.
- Habibi, Abdul Hai (2003). Afghanistan: an Abridged History. Fenestra Books. ISBN 978-1-58736-169-2.
- Hopkins, B.D. (2008). The Making of Modern Afghanistan. Palgrave Macmillan. ISBN 978-0-230-55421-4. Archived from [ประเทศอัฟกานิสถาน ที่ Google Books the original] Check |url= value (help) on 12 January 2014.
- Johnson, Robert (2011). [ประเทศอัฟกานิสถาน ที่ Google Books The Afghan Way of War: How and Why They Fight] Check |url= value (help). Oxford University Press. ISBN 978-0-19-979856-8.
- Levi, Peter (1972). The Light Garden of the Angel King: Journeys in Afghanistan. Collins. ISBN 978-0-00-211042-6. Archived from the original on 12 January 2014.
- Malleson, George Bruce (2005). History of Afghanistan, from the Earliest Period to the Outbreak of the War of 1878 (Elibron Classic Replica ed.). Adamant Media Corporation. ISBN 978-1-4021-7278-6. Archived from the original on 2 January 2014.
- Olson, Gillia M (2005). Afghanistan. Capstone Press. ISBN 978-0-7368-2685-3. Archived from the original on 12 January 2014.
- Omrani, Bijan; Leeming, Matthew (2011). Afghanistan: A Companion and Guide(2nd ed.). Odyssey Publications. ISBN 978-962-217-816-8. Archived from the original on 12 January 2014.
- Reddy, L.R. (2002). Inside Afghanistan: End of the Taliban Era?. APH Publishing. ISBN 978-81-7648-319-3.
- Romano, Amy (2003). A Historical Atlas of Afghanistan. The Rosen Publishing Group. ISBN 978-0-8239-3863-6. Archived from the original on 12 January 2014.
- Runion, Meredith L. (2007). The History of Afghanistan. Greenwood Publishing Group. ISBN 978-0-313-33798-7. Archived from the original on 12 January 2014.
- Meek, James. Worse than a Defeat. London Review of Books, Vol. 36, No. 24, December 2014, pages 3–10
ข้อตกลงในการใช้ บริการทำวีซ่า กับ NYC Visa&Translation Service ทางบริษัท NYC Visa&Translation Service ขอแจ้งข้อตกลงการใช้ บริการทำวีซ่า ของ NYC Visa&Translation Service กับลูกค้าทุกท่าน เพื่อให้การตกลงซื้อขายบริการใด ๆ จาก
บริษัทฯ เป็นไปโดยสมบูรณ์ กรุณาดำเนินการดังต่อไปนี้
บริษัทฯ เป็นไปโดยสมบูรณ์ กรุณาดำเนินการดังต่อไปนี้
- เตรียมเอกสารประกอบการยื่นวีซ่า ให้ครบถ้วนตามที่พนักงานแจ้งให้ท่านทราบ
- ระยะเวลาการยื่นวีซ่า จะเริ่มนับจากทางบริษัทได้รับเอกสารจากลูกค้าครบถ้วน
- หากมีการปลอมแปลงเอกสารใดๆ หรือ บิดเบือนข้อความในเอกสาร ทางบริษัทขอสงวนสิทธิ์ไม่รับผิดชอบทุกกรณี
- หากลูกค้าไม่ผ่านพิจารณาวีซ่าจากสถานทูต ทางบริษัทขอสงวนสิทธิ์ไม่รับผิดชอบทุกกรณี เนื่องจากการพิจารณาเป็นดุลยพินิจของสถานทูตเป็นที่สิ้นสุด
- โปรดตรวจสอบ อายุการใช้งานของหนังสือเดินทาง ( Passport) ของผู้โดยสาร และผู้ร่วมเดินทางทุกท่าน ว่าจะต้องคงมีอายุเหลือ ณ วันเดินทาง มากกว่า 6 เดือน ขึ้นไป
- กรณีที่ ท่านไม่ได้ทำการทักท้วงใด ๆ ในลักษณะลายลักษณ์อักษร บริษัทฯ ถือว่าท่านได้รับทราบเงื่อนไขและข้อกำหนดทั้งหมด ของบริษัทฯ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยหากเกิดความเสียหายใดๆ บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิ์ไม่รับผิดชอบทุกกรณี
- หากท่านมีข้อสงสัยใดๆ กรุณาสอบถามพนักงาน " แผนกกรุ๊ปเหมา และ วีซ่า ที่ท่านติดต่อได้ตลอดเวลาทำการของบริษัทฯ
- ระหว่างเวลา 09:00 - 18.00 น ในวันจันทร์ - ศุกร์ ได้ทางโทรศัพท์ 083-2494999
- การดำเนินการขอวีซ่า Visa บริษัทมีหน้าที่ดูแลเอกสาร และดำเนินการเกี่ยวกับยื่นเอกสารให้กับสถานทูตเพื่อพิจารณาวีซ่า Visa แต่ผลการพิจารณาวีซ่า Visa ขึ้นอยู่กับสถานทูตของแต่ละประเทศเท่านั้น
- กรณีลูกค้าที่ดำเนินการยื่นวีซ่า Visa แล้ว แต่หากสถานทูตปฏิเสธวีซ่าลูกค้า (วีซ่าไม่ผ่าน) ลูกค้าจะต้องชำระค่าธรรมเนียมของสถานทูตเองในครั้งต่อไปเอง เนื่องจากการพิจารณาให้วีซ่านั้น เป็นดุลยพินิจของสถานทูต
- กรณีลูกค้าชำระค่าธรรมเนียม และ ค่าบริการยื่นวีซ่า แล้ว จะไม่สามารถขอคืนเงินจากบริษัทไม่ว่ากรณีใด ๆ
รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าทำงานประเทศอัฟกานิสถาน, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่านักเรียนประเทศอัฟกานิสถาน, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าคู่มั่นประเทศอัฟกานิสถาน, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าแต่งงานประเทศอัฟกานิสถาน, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าถาวรประเทศอัฟกานิสถาน, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าติดตามประเทศอัฟกานิสถาน, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าธุรกิจประเทศอัฟกานิสถาน, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าดูงานประเทศอัฟกานิสถาน, รับยื่นวีซ่าท่องเที่ยวประเทศอัฟกานิสถาน, รับยื่นวีซ่าทำงานประเทศอัฟกานิสถาน, รับยื่นวีซ่านักเรียนประเทศอัฟกานิสถาน, รับยื่นวีซ่าคู่มั่นประเทศอัฟกานิสถาน, รับยื่นวีซ่าแต่งงานประเทศอัฟกานิสถาน, รับยื่นวีซ่าถาวรประเทศอัฟกานิสถาน, รับยื่นวีซ่าติดตามประเทศอัฟกานิสถาน, รับยื่นวีซ่าธุรกิจประเทศอัฟกานิสถาน, รับยื่นวีซ่าดูงานประเทศอัฟกานิสถาน, รับทำวีซ่าท่องเที่ยวประเทศอัฟกานิสถาน, รับทำวีซ่าทำงานประเทศอัฟกานิสถาน, รับทำวีซ่านักเรียนประเทศอัฟกานิสถาน, รับทำวีซ่าคู่มั่นประเทศอัฟกานิสถาน, รับทำวีซ่าแต่งงานประเทศอัฟกานิสถาน, รับทำวีซ่าถาวรประเทศอัฟกานิสถาน, ให้คำปรึกษาวีซ่าแต่งงานประเทศอัฟกานิสถาน, ให้คำปรึกษาวีซ่าถาวรประเทศอัฟกานิสถาน , ให้คำปรึกษาวีซ่าติดตามประเทศอัฟกานิสถาน, ให้คำปรึกษาวีซ่าธุรกิจประเทศอัฟกานิสถาน, ให้คำปรึกษาวีซ่าดูงานประเทศอัฟกานิสถาน, แนะนำวีซ่าท่องเที่ยวประเทศอัฟกานิสถาน, แนะนำวีซ่าทำงานประเทศอัฟกานิสถาน, แนะนำวีซ่านักเรียนประเทศอัฟกานิสถาน, แนะนำวีซ่าคู่มั่นประเทศอัฟกานิสถาน, แนะนำวีซ่าแต่งงานประเทศอัฟกานิสถาน, แนะนำวีซ่าถาวรประเทศอัฟกานิสถาน, แนะนำวีซ่าติดตามประเทศอัฟกานิสถาน, แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศอัฟกานิสถาน, แนะนำวีซ่าดูงานประเทศอัฟกานิสถาน, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าท่องเที่ยวประเทศอัฟกานิสถาน, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าทำงานประเทศอัฟกานิสถาน, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่านักเรียนประเทศอัฟกานิสถาน, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าคู่มั่นประเทศอัฟกานิสถาน, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าแต่งงานประเทศอัฟกานิสถาน, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าถาวรประเทศอัฟกานิสถาน, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าติดตามประเทศอัฟกานิสถาน, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าธุรกิจประเทศอัฟกานิสถาน, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าดูงานประเทศอัฟกานิสถาน, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าท่องเที่ยวประเทศอัฟกานิสถาน, รับทำวีซ่าติดตามประเทศอัฟกานิสถาน, รับทำวีซ่าธุรกิจประเทศอัฟกานิสถาน, รับทำวีซ่าดูงานประเทศอัฟกานิสถาน, รับปรึกษาวีซ่าท่องเที่ยวประเทศอัฟกานิสถาน, รับปรึกษาวีซ่าทำงานประเทศอัฟกานิสถาน, รับปรึกษาวีซ่านักเรียนประเทศอัฟกานิสถาน, รับปรึกษาวีซ่าคู่มั่นประเทศอัฟกานิสถาน, รับปรึกษาวีซ่าแต่งงานประเทศอัฟกานิสถาน, รับปรึกษาวีซ่าถาวรประเทศอัฟกานิสถาน, รับปรึกษาวีซ่าติดตามประเทศอัฟกานิสถาน, รับปรึกษาวีซ่าธุรกิจประเทศอัฟกานิสถาน, รับปรึกษาวีซ่าดูงานประเทศอัฟกานิสถาน, ให้คำปรึกษาวีซ่าท่องเที่ยวประเทศอัฟกานิสถาน, ให้คำปรึกษาวีซ่าทำงานประเทอัฟกานิสถาน, ให้คำปรึกษาวีซ่านักเรียนประเทศอัฟกานิสถาน, ให้คำปรึกษาวีซ่าคู่มั่นประเทศอัฟกานิสถาน, รับยื่นวีซ่าท่องเที่ยวประเทศอัฟกานิสถาน, รับยื่นวีซ่าทำงานประเทศอัฟกานิสถาน, รับยื่นวีซ่านักเรียนประเทศอัฟกานิสถาน, รับยื่นวีซ่าคู่มั่นประเทศอัฟกานิสถาน, รับยื่นวีซ่าแต่งงานประเทศอัฟกานิสถาน, รับยื่นวีซ่าถาวรประเทศอัฟกานิสถาน, รับยื่นวีซ่าติดตามประเทศอัฟกานิสถาน, รับยื่นวีซ่าธุรกิจประเทศอัฟกานิสถาน, รับยื่นวีซ่าดูงานประเทศอัฟกานิสถาน, รับทำวีซ่าท่องเที่ยวประเทศอัฟกานิสถาน, รับทำวีซ่าทำงานประเทศอัฟกานิสถาน, รับทำวีซ่านักเรียนประเทศอัฟกานิสถาน, รับทำวีซ่าคู่มั่นประเทศอัฟกานิสถาน, รับทำวีซ่าแต่งงานประเทศอัฟกานิสถาน, รับทำวีซ่าถาวรประเทศอัฟกานิสถาน, รับทำวีซ่าติดตามประเทศอัฟกานิสถาน, รับทำวีซ่าธุรกิจประเทศอัฟกานิสถาน, รับทำวีซ่าดูงานประเทศอัฟกานิสถาน, รับปรึกษาวีซ่าท่องเที่ยวประเทศอัฟกานิสถาน, รับปรึกษาวีซ่าทำงานประเทศอัฟกานิสถาน, รับปรึกษาวีซ่านักเรียนประเทศอัฟกานิสถาน, รับปรึกษาวีซ่าคู่มั่นประเทศอัฟกานิสถาน, รับปรึกษาวีซ่าแต่งงานประเทศอัฟกานิสถาน, รับปรึกษาวีซ่าถาวรประเทศอัฟกานิสถาน, รับปรึกษาวีซ่าติดตามประเทศอัฟกานิสถาน, รับปรึกษาวีซ่าธุรกิจประเทศอัฟกานิสถาน, รับปรึกษาวีซ่าดูงานประเทศอัฟกานิสถาน, ให้คำปรึกษาวีซ่าท่องเที่ยวประเทศอัฟกานิสถาน, ให้คำปรึกษาวีซ่าทำงานประเทศอัฟกานิสถาน, ให้คำปรึกษาวีซ่านักเรียนประเทศอัฟกานิสถาน, ให้คำปรึกษาวีซ่าคู่มั่นประเทศอัฟกานิสถาน, ให้คำปรึกษาวีซ่าแต่งงานประเทศอัฟกานิสถาน, ให้คำปรึกษาวีซ่าถาวรประเทศอัฟกานิสถาน , ให้คำปรึกษาวีซ่าติดตามประเทศอัฟกานิสถาน, ให้คำปรึกษาวีซ่าธุรกิจประเทศอัฟกานิสถาน, ให้คำปรึกษาวีซ่าดูงานประเทศอัฟกานิสถาน, แนะนำวีซ่าท่องเที่ยวประเทศอัฟกานิสถาน, แนะนำวีซ่าทำงานประเทศอัฟกานิสถาน, แนะนำวีซ่านักเรียนประเทศอัฟกานิสถาน, แนะนำวีซ่าคู่มั่นประเทศอัฟกานิสถาน, แนะนำวีซ่าแต่งงานประเทศอัฟกานิสถาน, แนะนำวีซ่าถาวรประเทศอัฟกานิสถาน, แนะนำวีซ่าติดตามประเทศอัฟกานิสถาน, แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศอัฟกานิสถาน, แนะนำวีซ่าดูงานประเทศอัฟกานิสถาน, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าท่องเที่ยวประเทศอัฟกานิสถาน, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าทำงานประเทศอัฟกานิสถาน, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่านักเรียนประเทศอัฟกานิสถาน, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าคู่มั่นประเทศอัฟกานิสถาน, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าแต่งงานประเทศอัฟกานิสถาน, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าถาวรประเทศอัฟกานิสถาน, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าติดตามประเทศอัฟกานิสถาน, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าธุรกิจประเทศอัฟกานิสถาน, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าดูงานประเทศอัฟกานิสถาน, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าท่องเที่ยวประเทศอัฟกานิสถาน, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าทำงานประเทศอัฟกานิสถาน, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่านักเรียนประเทศอัฟกานิสถาน, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าคู่มั่นประเทศอัฟกานิสถาน, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าแต่งงานประเทศอัฟกานิสถาน, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าถาวรประเทศอัฟกานิสถาน, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าติดตามประเทศอัฟกานิสถาน, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าธุรกิจประเทศอัฟกานิสถาน, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าดูงานประเทศอัฟกานิสถาน, ติดต่อขอใช้บริการ สาขาในกรุงเทพมหานคร แขวงขุมทอง แขวงจตุจักร แขวงจอมพล แขวงจันทรเกษม แขวงลาดยาว แขวงเสนานิคม เขตจอมทอง แขวงจอมทอง แขวงบางขุนเทียน แขวงบางค้อ แขวงบางมด เขตดอนเมือง แขวงสีกัน เขตดินแดง แขวงดินแดง เขตดุสิต แขวงดุสิต แขวงถนนนครไชยศรี แขวงวชิรพยาบาล แขวงสวนจิตรลดา แขวงสี่แยกมหานาค เขตตลิ่งชัน แขวงคลองชักพระ แขวงฉิมพลี แขวงตลิ่งชัน แขวงบางเชือกหนัง แขวงบางพรม แขวงบางระมาด แขวงทวีวัฒนา แขวงศาลาธรรมสพน์ เขตทุ่งครุ แขวงทุ่งครุ แขวงบางมด เขตธนบุรี แขวงดาวคะนอง แขวงตลาดพลู แขวงบางยี่เรือ แขวงบุคคโล แขวงวัดกัลยาณ์บูรณะ แขวงบางปะกอก แขวงราษฎร์บูรณะ เขตลาดกระบังแขวงยานนาวา เขตสายไหม แขวงคลองถนน แขวงสายไหม แขวงออเงิน เขตหนองแขม แขวงหนองแขม แขวงหนองค้างพลู เขตหนองจอก แขวงกระทุ่มราย แขวงคลองสิบ แขวงคลองสิบสอง แขวงคู้ฝั่งเหนือ แขวงโคกแฝด แขวงลำต้อยติ่ง แขวงลำผักชี แขวงหนองจอก เขตหลักสี่ แขวงตลาดบางเขน แขวงทุ่งสองห้อง เขตห้วยขวาง แขวงบางกะปิ แขวงสามเสนนอก แขวงสำเหร่ แขวงหิรัญรูจี เขตบางเขน แขวงท่าแร้ง แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางแค แขวงบางแค แขวงบางแคเหนือ แขวงบางไผ่ แขวงหลักสอง เขตบางกอกใหญ่ แขวงวัดท่าพระ แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกน้อย แขวงบางขุนนนท์ แขวงบางขุนศรี แขวงบ้านช่างหล่อ แขวงศิริราช แขวงอรุณอมรินทร์ เขตบางกะปิ แขวงคลองจั่น แขวงหัวหมาก เขตบางขุนเทียน แขวงท่าข้าม แขวงแสมดำ เขตบางคอแหลม แขวงบางโคล่ แขวงบางคอแหลม แขวงวัดพระยาไกร เขตบางซื่อ แขวงบางซื่อ เขตบางนา แขวงบางนา เขตบางบอน แขวงบางบอน เขตบางพลัด แขวงบางบำหรุ แขวงบางพลัด แขวงบางยี่ขัน แขวงบางอ้อ เขตบางรัก แขวงบางรัก แขวงมหาพฤฒาราม แขวงสี่พระยา แขวงสีลม แขวงสุริยวงศ์ เขตบึงกุ่ม แขวงคลองกุ่ม เขตปทุมวัน แขวงปทุมวัน แขวงรองเมือง แขวงลุมพินี แขวงวังใหม่ เขตประเวศ แขวงดอกไม้ แขวงประเวศ แขวงหนองบอน เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย แขวงคลองมหานาค แขวงบ้านบาตร แขวงป้อมปราบ แขวงวัดเทพศิรินทร์ แขวงวัดโสมนัส เขตพญาไท แขวงสามเสนใน เขตพระโขนง แขวงบางจาก เขตพระนคร แขวงชนะสงคราม แขวงตลาดยอดแขวงคลองสองต้นนุ่น แขวงคลองสามประเวศ แขวงทับยาว แขวงลาดกระบัง แขวงลำปลาทิว เขตลาดพร้าว แขวงจรเข้บัว แขวงลาดพร้าว เขตวังทองหลาง แขวงวังทองหลาง เขตวัฒนา แขวงคลองเตยเหนือ แขวงคลองตันเหนือ แขวงพระโขนงเหนือ เขตสวนหลวง แขวงสวนหลวง เขตสะพานสูง แขวงสะพานสูง เขตสัมพันธวงศ์ แขวงจักรวรรดิ แขวงตลาดน้อย แขวงสัมพันธวงศ์ เขตสาทร แขวงทุ่งมหาเมฆ แขวงทุ่งวัดดอน แถว เขตคลองเตย แขวงคลองเตย แขวงคลองตัน แขวงพระโขนง เขตคลองสาน แขวงคลองต้นไทร แขวงคลองสาน แขวงบางลำพูล่าง แขวงสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสามวา แขวงทรายกองดิน แขวงทรายกองดินใต้ แขวงบางชัน แขวงสามวาตะวันตก แขวงสามวาตะวันออก เขตคันนายาว แขวงคันนายาว เขตจตุจักร แขวงบวรนิเวศ แขวงบางขุนพรหม แขวงบ้านพานถม แขวงพระบรมมหาราชวัง แขวงวังบูรพาภิรมย์ แขวงวัดราชบพิธ แขวงวัดสามพระยา แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ แขวงสำราญราษฎร์ แขวงเสาชิงช้า เขตภาษีเจริญ แขวงคลองขวาง แขวงคูหาสวรรค์ แขวงบางจาก แขวงบางด้วน แขวงบางแวก แขวงบางหว้า แขวงปากคลองภาษีเจริญ เขตมีนบุรี แขวงมีนบุรี แขวงแสนแสบ เขตยานนาวา แขวงช่องนนทรี แขวงบางโพงพาง เขตราชเทวี แขวงถนนเพชรบุรี แขวงถนนพญาไท แขวงทุ่งพญาไท แขวงมักกะสัน เขตราษฎร์ แขวงห้วยขวาง สาขาในจังหวัดอ่างทอง โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดนครราชสีมา โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดบึงกาฬ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดบุรีรัมย์ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168,สาขาในจังหวัดพัทลุง โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดภูเก็ต โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดระนอง โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสตูล โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสงขลา โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสุราษฎร์ธานี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดฉะเชิงเทรา โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดชลบุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดตราด โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดปราอัฟกานิสถานบุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดระยอง โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสระแก้ว โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดกาญจนบุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดอุบลราชธานี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดอำนาจเจริญ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดกำแพงเพชร โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดอุทัยธานี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168,สาขาในจังหวัดสมุทรสาคร โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสิงห์บุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสกลนคร โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสุรินทร์ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดศรีสะเกษ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดหนองคาย โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดแม่ฮ่องสอน โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดนครนายก โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดนครปฐม โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดนครสวรรค์ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดเชียงราย โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดเชียงใหม่ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดน่าน โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดพะเยา โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดลำปาง โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดลำพูน โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดอุตรดิตถ์ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดกาฬสินธุ์ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดขอนแก่น โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดตาก โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168,สาขาในจังหวัดมหาสารคาม โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดแพร่ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสมุทรสงคราม โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดยะลา โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดนนทบุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดปทุมธานี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดพิจิตร โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดชุมพร โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดตรัง โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดนครศรีธรรมราช โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดนราธิวาส โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดปัตตานี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดพังงา โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168,สาขาในจังหวัดร้อยเอ็ด โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดเลย โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดนครพนม โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดชัยนาท โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดพิษณุโลก โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดเพชรบูรณ์ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดลพบุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสมุทรปราการ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168,สาขาในจังหวัดหนองบัวลำภู โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดอุดรธานี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดมุกดาหาร โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดยโสธร โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดชัยภูมิ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดจันทบุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168,สาขาในจังหวัดสุโขทัย โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสุพรรณบุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสระบุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดเพชรบุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดราชบุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดกระบี่ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168,
NYC Visa & Translation Service
"มืออาชีพด้านการแปล และบริการวีซ่า ที่คุณไว้วางใจได้"
เว็บไซต์ของเรา
© 2024 NYC Visa & Translation Service. All rights reserved.
ขอขอบคุณลูกค้าที่ไว้วางใจเลือกใช้บริการกับเรา
NYC Visa & Translation Service
32 ซอยอ่อนนุช 52, แขวงอ่อนนุช เขตสวนหลวง
กรุงเทพมหานคร 10250
กรุงเทพมหานคร 10250
บริการแปลเอกสาร
- บริการแปลทุกภาษาทั่วโลก โดยทีมงานมืออาชีพเจ้าของภาษา
- บริการแปลเอกสารราชการ โดยผู้เชี่ยวชาญ
- บริการแปลเอกสารพร้อมรับรองกงสุล
- บริการแปลและรับรองเอกสารโดยนักแปล NAATI
บริการวีซ่า
- บริการให้คำปรึกษาวีซ่าทุกประเภท
- รับยื่นวีซ่า และแก้ไขวีซ่าไม่ผ่าน
- บริการทำ APEC Business Travel Card
- บริการวีซ่าประเทศไทยสำหรับชาวต่างชาติ
บริการอื่นๆ
- บริการล่ามแปลภาษา
- บริการรับรองเอกสารโดย Notary Public
- บริการจองตั๋วเครื่องบิน
- บริการประกันการเดินทาง
ช่องทางการติดต่อ
Call Center: 083-2494999
Line ID: @NYC168
Email: [email protected] (แผนกวีซ่า)
Email: [email protected] (แผนกแปลเอกสาร)
Website: www.nycvisa-translation.com, www.nycvisa.org
เครือข่ายสาขาทั่วประเทศ
▼สำนักงานใหญ่ขอนแก่น
46/1-2 หมู่ 2 ถนนฉิมพลี ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40000
สาขาลำปาง
Travel Max ลำปาง ตลาดอัศวิน อำเภอเมืองลำปาง ลำปาง 52100
สาขาเชียงใหม่
123/4 ถนนห้วยแก้ว ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50200
สาขาเชียงราย
555/1 ถนนพหลโยธิน ตำบลเวียง อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย 57100
สาขาลำพูน
100/1 ถนนพหลโยธิน ตำบลในเมือง อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน 51000
สาขาแม่ฮ่องสอน
123/4 ถนนเจริญเมือง ตำบลเมือง อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอน 58000
สาขาน่าน
555/1 ถนนพหลโยธิน ตำบลในเมือง อำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน 55000
สาขาพะเยา
100/1 ถนนพหลโยธิน ตำบลในเมือง อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา 56000
สาขาแพร่
10/1 ถนนพหลโยธิน ตำบลในเมือง อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ 54000
สาขาอุตรดิตถ์
123/4 ถนนพหลโยธิน ตำบลท่าอิฐ อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ 53000
สาขาตาก
555/1 ถนนพหลโยธิน ตำบลในเมือง อำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก 63000
สาขาสุโขทัย
100/1 ถนนสวรรค์วิถี ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย 64000
สาขาพิษณุโลก
89/2 ถนนพุทธบูชา ตำบลในเมือง อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก 65000
สาขาพิจิตร
ร้านกระต่ายโฟน 39/70, ถนนสระหลวง, ตำบลในเมือง อำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร 66000
สาขากำแพงเพชร
77/5 ถนนเจริญสุข ตำบลในเมือง อำเภอเมืองกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร 62000
สาขาเพชรบูรณ์
44/8 ถนนสามัคคีชัย ตำบลในเมือง อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ 67000
สาขาหนองคาย (1)
iLC (International Language Center)Co., Ltd. 161 หมู่ 1 ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย 43000
สาขาหนองคาย (2)
NYC Translation Co., Ltd. 250 หมู่ 2 ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย 43000
สาขาอุดรธานี
New Star Travel ตำบลหมากแข้ง อำเภอเมืองอุดรธานี อุดรธานี 41000
สาขาอุบลราชธานี
ยิ้มๆยิ้มทัวร์ 142 11 ถ. อุบล - ตระการ ในเมือง เมือง อุบลราชธานี 34000
สาขาร้อยเอ็ด
T.N. Travel 19/2 ถ.สันติสุข ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด 45000
สาขานครราชสีมา
123/4 ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครราชสีมา 30000
สาขาบุรีรัมย์
555/1 ถนนรัตนโกสินทร์ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองบุรีรัมย์ 31000
สาขาสุรินทร์
100/1 ถนนศรีณรงค์ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์ 32000
สาขาศรีสะเกษ
10/1 ถนนสรรพสิทธิ์ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองศรีสะเกษ 33000
สาขายโสธร
555/1 ถนนสุนทรวิจิตร ตำบลในเมือง อำเภอเมืองยโสธร 35000
สาขากาฬสินธุ์
10/1 ถนนพหลโยธิน ตำบลในเมือง อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ 46000
สาขามหาสารคาม
123/4 ถนนนครสวรรค์ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองมหาสารคาม 44000
สาขามุกดาหาร
555/1 ถนนสุนทรวิจิตร ตำบลในเมือง อำเภอเมืองมุกดาหาร 49000
สาขาสกลนคร
100/1 ถนนสุนทรวิจิตร ตำบลในเมือง อำเภอเมืองสกลนคร 47000
สาขานครพนม
10/1 ถนนสุนทรวิจิตร ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครพนม 48000
สาขาเลย
123/4 ถนนสุนทรวิจิตร ตำบลในเมือง อำเภอเมืองเลย 42000
สาขาหนองบัวลำภู
555/1 ถนนสุนทรวิจิตร ตำบลในเมือง อำเภอเมืองหนองบัวลำภู 39000
สาขาบึงกาฬ
123/4 ถนนสุนทรวิจิตร ตำบลในเมือง อำเภอเมืองบึงกาฬ 38000
สาขาชัยภูมิ
10/1 ถนนสุรนารายณ์ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองชัยภูมิ 36000
สาขาพระนคร
123/4 ถนนราชดำเนินกลาง แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร 10200
สาขาดุสิต
555/1 ถนนศรีอยุธยา แขวงดุสิต เขตดุสิต 10300
สาขาป้อมปราบศัตรูพ่าย
89/1 ถนนเจริญกรุง แขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 10100
สาขาบางรัก
78/4 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก 10500
สาขาสัมพันธวงศ์
25/2 ซอยเจริญกรุง 1 แขวงสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ 10100
สาขาปทุมวัน
123/4 ถนนเพชรบุรี แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน 10330
สาขาพญาไท
55/1 ถนนพญาไท แขวงพญาไท เขตพญาไท 10400
สาขาราชเทวี
10/1 ซอยราชเทวี 1 แขวงราชเทวี เขตราชเทวี 10400
สาขาจตุจักร
99/9 ถนนพหลโยธิน แขวงจตุจักร เขตจตุจักร 10900
สาขาดินแดง
10/1 ซอยดินแดง 1 แขวงดินแดง เขตดินแดง 10400
สาขาห้วยขวาง
555/1 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง 10310
สาขาพระโขนง
10/1 ซอยสุขุมวิท 62 แขวงพระโขนง เขตพระโขนง 10260
สาขาคลองเตย
10/1 ซอยสุขุมวิท 21 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย 10110
สาขาประเวศ
88/7 ถนนอ่อนนุช แขวงประเวศ เขตประเวศ 10250
สาขาบางนา
100/1 หมู่บ้านบางนา ซอยบางนา-ตราด 1 แขวงบางนา เขตบางนา 10260
สาขาบางกะปิ
123/4 หมู่บ้านบางกะปิ ซอยบางกะปิ 1 แขวงบางกะปิ เขตบางกะปิ 10240
สาขาลาดพร้าว
555/1 ถนนลาดพร้าว แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว 10230
สาขาบึงกุ่ม
100/1 หมู่บ้านบึงกุ่ม ซอยบึงกุ่ม 1 แขวงบึงกุ่ม เขตบึงกุ่ม 10240
สาขาบางเขน
123/1 หมู่บ้านเสนานิคม ซอยเสนานิคม 1 แขวงเสนานิคม เขตบางเขน 10220
สาขาสะพานสูง
123/4 หมู่บ้านสะพานสูง ซอยสะพานสูง 1 แขวงสะพานสูง เขตสะพานสูง 10240
สาขาวังทองหลาง
100/1 หมู่บ้านวังทองหลาง ซอยวังทองหลาง 1 แขวงวังทองหลาง เขตวังทองหลาง 10310
สาขาคันนายาว
555/1 หมู่บ้านคันนายาว ซอยคันนายาว 1 แขวงคันนายาว เขตคันนายาว 10230
สาขาธนบุรี
10/1 ซอยเจริญนคร 1 แขวงบางกอกน้อย เขตธนบุรี 10600
สาขาคลองสาน
100/1 หมู่บ้านคลองสาน ซอยคลองสาน 1 แขวงคลองสาน เขตคลองสาน 10600
สาขาบางกอกใหญ่
25/2 ซอยเจริญนคร 12 แขวงบางกอกใหญ่ เขตบางกอกใหญ่ 10600
สาขาบางกอกน้อย
10/1 ซอยเจริญนคร 1 แขวงบางกอกน้อย เขตบางกอกน้อย 10700
สาขาตลิ่งชัน
88/7 ถนนชัยพฤกษ์ แขวงตลิ่งชัน เขตตลิ่งชัน 10170
สาขาบางพลัด
25/2 ซอยจรัญสนิทวงศ์ 1 แขวงบางพลัด เขตบางพลัด 10700
สาขาจอมทอง
199/2 ถนนเอกชัย แขวงจอมทอง เขตจอมทอง 10150
สาขาทวีวัฒนา
555/1 หมู่บ้านทวีวัฒนา ซอยทวีวัฒนา 1 แขวงทวีวัฒนา เขตทวีวัฒนา 10170
สาขาภาษีเจริญ
77/5 ถนนเพชรเกษม แขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ 10160
สาขาบางแค
100/1 หมู่บ้านบางแค ซอยบางแค 1 แขวงบางแค เขตบางแค 10160
สาขาหนองแขม
100/1 หมู่บ้านหนองแขม ซอยหนองแขม 1 แขวงหนองแขม เขตหนองแขม 10160
สาขาบางขุนเทียน
555/1 หมู่บ้านบางขุนเทียน ซอยบางขุนเทียน 1 แขวงบางขุนเทียน เขตบางขุนเทียน 10150
สาขาบางบอน
66/8 ถนนบางบอน 1 แขวงบางบอน เขตบางบอน 10150
สาขาดอนเมือง
88/7 ถนนสรงประภา แขวงดอนเมือง เขตดอนเมือง 10210
สาขาสายไหม
100/1 หมู่บ้านสายไหม ซอยสายไหม 1 แขวงสายไหม เขตสายไหม 10220
สาขาคลองสามวา
123/4 หมู่บ้านคลองสามวา แขวงคลองสามวา เขตคลองสามวา 10510
สาขาหนองจอก
100/1 หมู่บ้านหนองจอก ซอยหนองจอก 1 แขวงหนองจอก เขตหนองจอก 10530
สาขาลาดกระบัง
123/4 หมู่บ้านลาดกระบัง ซอยลาดกระบัง 1 แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง 10520
สาขาประเวศ
88/7 ถนนอ่อนนุช แขวงประเวศ เขตประเวศ 10250
สาขายานนาวา
100/1 หมู่บ้านยานนาวา ซอยยานนาวา 1 แขวงยานนาวา เขตยานนาวา 10120
สาขาสาทร
10/1 ซอยสาทร 1 แขวงยานนาวา เขตสาทร 10120
สาขาบางคอแหลม
10/1 ซอยเจริญกรุง 43 แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม 10120
สาขาราษฎร์บูรณะ
123/4 หมู่บ้านราษฎร์บูรณะ ซอยราษฎร์บูรณะ 1 แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ 10140
สาขาทุ่งครุ
100/1 หมู่บ้านทุ่งครุ ซอยทุ่งครุ 1 แขวงทุ่งครุ เขตทุ่งครุ 10140
สาขาปทุมธานี
123/4 ถนนรังสิต-ปทุมธานี ตำบลบางกะดี อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี 12000
สาขานนทบุรี
10/1 ถนนราชพฤกษ์ ตำบลบางกระสอ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000
สาขาสมุทรปราการ
100/1 ถนนสุขุมวิท ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ 10280
สาขาสมุทรสาคร
10/1 ถนนพระราม 2 ตำบลมหาชัย อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร 74000
สาขาสมุทรสงคราม
123/4 ถนนเพชรเกษม ตำบลเมืองสมุทรสงคราม อำเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม 75000
สาขานครปฐม
100/1 ถนนเพชรเกษม ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม 73000
สาขาถนนสีลม
87/123 อาคารสีลมคอมเพล็กซ์ ชั้น 5 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500
สาขาเซ็นทรัลเวิลด์
999/9 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ชั้น 4 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
สาขาเอ็มควอเทียร์
689 ศูนย์การค้าเอ็มควอเทียร์ ชั้น 5 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110
สาขาสยามพารากอน
991/1 ศูนย์การค้าสยามพารากอน ชั้น 4 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
สาขาเทอร์มินอล 21
88 ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 ชั้น 3 ซอยสุขุมวิท 19 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110
สาขาพระนครศรีอยุธยา
99/9 ถนนโรจนะ ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13000
สาขาลพบุรี
88/8 ถนนนารายณ์มหาราช ตำบลทะเลชุบศร อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี 15000
สาขาสิงห์บุรี
168/8 ถนนธรรมโชติ ตำบลบางพุทรา อำเภอเมืองสิงห์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี 16000
สาขาชัยนาท
235/5 ถนนพรหมประเสริฐ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท 17000
สาขาสระบุรี
165/22 ถนนสุดบรรทัด ตำบลปากเพรียว อำเภอเมืองสระบุรี จังหวัดสระบุรี 18000
สาขาชลบุรี
279/58 ถนนสุขุมวิท ตำบลบ้านสวน อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 20000
สาขาระยอง
144/59 ถนนสุขุมวิท ตำบลท่าประดู่ อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21000
สาขาจันทบุรี
87/99 ถนนตรีรัตน์ ตำบลวัดใหม่ อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี 22000
สาขาตราด
90/115 ถนนสุขุมวิท ตำบลวังกระแจะ อำเภอเมืองตราด จังหวัดตราด 23000
สาขาฉะเชิงเทรา
111/78 ถนนศุขประยูร ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา 24000
สาขาปราจีนบุรี
125/88 ถนนราษฎรดำริ ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี 25000
สาขานครนายก
148/55 ถนนสุวรรณศร ตำบลนครนายก อำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก 26000
สาขาสระแก้ว
352/41 ถนนสุวรรณศร ตำบลสระแก้ว อำเภอเมืองสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว 27000
สาขาภูเก็ต
83/47 ถนนเทพกระษัตรี ตำบลรัษฎา อำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต 83000
สาขาสุราษฎร์ธานี
209/88 ถนนชนเกษม ตำบลมะขามเตี้ย อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84000
สาขานครศรีธรรมราช
89/122 ถนนพัฒนาการคูขวาง ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช 80000
สาขาสงขลา
155/78 ถนนราชดำเนิน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา 90000
สาขาตรัง
69/45 ถนนห้วยยอด ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง 92000
สาขาพัทลุง
122/89 ถนนราเมศวร์ ตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง 93000
สาขาปัตตานี
166/45 ถนนหนองจิก ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี 94000
สาขายะลา
95/88 ถนนสิโรรส ตำบลสะเตง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา 95000
สาขานราธิวาส
178/92 ถนนพิชิตบำรุง ตำบลบางนาค อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส 96000
สาขาระนอง
123/77 ถนนท่าเมือง ตำบลเขานิเวศน์ อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง 85000
สาขาชุมพร
111/89 ถนนกรมหลวง ตำบลท่าตะเภา อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร 86000
สาขากระบี่
88/96 ถนนมหาราช ตำบลปากน้ำ อำเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ 81000
สาขาพังงา
145/67 ถนนเพชรเกษม ตำบลท้ายช้าง อำเภอเมืองพังงา จังหวัดพังงา 82000
สาขาสตูล
199/88 ถนนสตูลธานี ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล 91000
สาขาถนนสีลม
87/123 อาคารสีลมคอมเพล็กซ์ ชั้น 5 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500
สาขาเซ็นทรัลเวิลด์
999/9 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ชั้น 4 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
สาขาเอ็มควอเทียร์
689 ศูนย์การค้าเอ็มควอเทียร์ ชั้น 5 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110
สาขาสยามพารากอน
991/1 ศูนย์การค้าสยามพารากอน ชั้น 4 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
สาขาเทอร์มินอล 21
88 ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 ชั้น 3 ซอยสุขุมวิท 19 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110
สาขาเชียงราย - เซ็นทรัลพลาซา
99/9 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เชียงราย ชั้น 2 ถนนพหลโยธิน ตำบลรอบเวียง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57000
สาขาอุดรธานี - UD Town
88/8 ศูนย์การค้า UD Town ชั้น 2 ถนนทองใหญ่ ตำบลหมากแข้ง อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000
สาขาขอนแก่น - เซ็นทรัลพลาซา
99/9 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ขอนแก่น ชั้น 2 ถนนศรีจันทร์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40000
สาขาอุบลราชธานี - เซ็นทรัลพลาซา
311 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา อุบลราชธานี ชั้น 2 ตำบลแจระแม อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000
สาขาพัทยา - เซ็นทรัลเฟสติวัล
333/99 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช ชั้น 3 หมู่ 9 ถนนพัทยาสาย 2 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 20150
สาขาแม่สอด
222/2 ถนนอินทรคีรี ตำบลแม่สอด อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก 63110
สาขาหัวหิน - มาร์เก็ตวิลเลจ
234/1 ศูนย์การค้าหัวหิน มาร์เก็ตวิลเลจ ชั้น 2 ถนนเพชรเกษม ตำบลหัวหิน อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77110
สาขานครสวรรค์ - บิ๊กซี
320/10 ศูนย์การค้าบิ๊กซี นครสวรรค์ ชั้น 1 ถนนสวรรค์วิถี ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ 60000
สาขาสมุย - เซ็นทรัลวิลเลจ
209/1 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลวิลเลจ เกาะสมุย ชั้น 1 หมู่ 2 ตำบลบ่อผุด อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84320
สาขาเชียงใหม่ - มายา
55/5 ศูนย์การค้ามายา ชั้น 2 ถนนห้วยแก้ว ตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200
สาขาเชียงใหม่ - นิมมาน
1 วัน นิมมาน ชั้น 2 ซอยนิมมานเหมินท์ 1 ตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200
สาขาหาดใหญ่ - เซ็นทรัลเฟสติวัล
1518 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล หาดใหญ่ ชั้น 3 ถนนกาญจนวณิชย์ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110
สาขาอยุธยา - อยุธยาซิตี้พาร์ค
126 ศูนย์การค้าอยุธยาซิตี้พาร์ค ชั้น 2 ถนนโรจนะ ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13000
สาขาระยอง - พาสซิโอ
888/1 ศูนย์การค้าพาสซิโอ พาร์ค ชั้น 2 ถนนสุขุมวิท ตำบลเนินพระ อำเภอเมือง จังหวัดระยอง 21000
สาขาเกาะช้าง
99/9 หมู่ 4 ตำบลเกาะช้าง อำเภอเกาะช้าง จังหวัดตราด 23170
สาขาเกาะพีพี
125 หมู่ 7 ตำบลอ่าวนาง อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ 81000
สาขาเกาะพงัน
155/15 หมู่ 1 ตำบลเกาะพงัน อำเภอเกาะพงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84280
สาขาเชียงราย - เมืองเก่า
222/2 ถนนไตรรัตน์ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57000
สาขาเขาหลัก
88/8 หมู่ 5 ตำบลคึกคัก อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา 82220
สาขาเชียงคาน
199 หมู่ 1 ถนนชายโขง ตำบลเชียงคาน อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย 42110
สาขาปาย
99/9 หมู่ 3 ตำบลเวียงใต้ อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน 58130
สาขาบางนา - เมกาบางนา
39 ศูนย์การค้าเมกาบางนา ชั้น 3 ถนนบางนา-ตราด ตำบลบางแก้ว อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540
สาขารังสิต - ฟิวเจอร์พาร์ค
94 ศูนย์การค้าฟิวเจอร์พาร์ค รังสิต ชั้น 2 ถนนพหลโยธิน ตำบลประชาธิปัตย์ อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12130
สาขานวนคร
98/49 นิคมอุตสาหกรรมนวนคร ถนนพหลโยธิน ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120
สาขานิคมอมตะนคร
700/75 นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร หมู่ 1 ตำบลคลองตำหรุ อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20000
สาขาแหลมฉบัง
89/10 ถนนสุขุมวิท ตำบลทุ่งสุขลา อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230
สาขานิคมมาบตาพุด
168/88 ถนนสุขุมวิท ตำบลมาบตาพุด อำเภอเมือง จังหวัดระยอง 21150
สาขาบ่อวิน
299/89 หมู่ 6 ตำบลบ่อวิน อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230
สาขาลาดกระบัง - ลำลูกกา
999/99 ซอยลาดกระบัง 20 แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520
สาขาบางพลี - บางบ่อ
222/29 หมู่ 1 ตำบลบางเสาธง อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ 10570
สาขาสำโรง - เคหะ
999/1 ซอยสุขุมวิท 64 ตำบลบางนา อำเภอบางนา จังหวัดสมุทรปราการ 10260
สาขาบางปู
888/199 หมู่ 1 นิคมอุตสาหกรรมบางปู ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ 10280
สาขาโรจนะ
144/98 หมู่ 4 นิคมอุตสาหกรรมโรจนะ ตำบลอุทัย อำเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13210
สาขาลำพูน - บ้านกลาง
168/88 นิคมอุตสาหกรรมลำพูน ตำบลบ้านกลาง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน 51000
สาขาเขาใหญ่
222/99 ถนนธนะรัชต์ ตำบลหมูสี อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา 30130
สาขาเชียงราย - แม่สาย
959/9 หมู่ 1 ตำบลเวียงพางคำ อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย 57130
สาขามุกดาหาร - สะพานมิตรภาพ
789/2 ถนนชยางกูร ตำบลมุกดาหาร อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร 49000
สาขาหนองคาย - สะพานมิตรภาพ
369/99 หมู่ 10 ถนนมิตรภาพ ตำบลหนองกอมเกาะ อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย 43000
สาขานครพนม - สะพานมิตรภาพ
459/1 ถนนนครพนม-ท่าอุเทน ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม 48000
สาขาปราณบุรี
888/88 ถนนเพชรเกษม ตำบลเขาน้อย อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77120
สาขากบินทร์บุรี
147/7 ถนนทางหลวง 304 ตำบลกบินทร์ อำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี 25110
สาขาแกลง
99/9 ถนนสุขุมวิท ตำบลทางเกวียน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง 21110
สาขาเกาะสีชัง
99/8 หมู่ 5 ตำบลท่าเทววงษ์ อำเภอเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี 20120
สาขาเกาะล้าน
89/7 หมู่ 7 ตำบลนาเกลือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 20150
สาขาเกาะเสม็ด
99/99 หมู่ 4 ตำบลเพ อำเภอเมือง จังหวัดระยอง 21160
สาขาเขาค้อ
88/8 หมู่ 5 ตำบลแคมป์สน อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ 67280
สาขาวังน้ำเขียว
199/2 หมู่ 1 ตำบลวังน้ำเขียว อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา 30370
สาขาเชียงของ
888/1 หมู่ 8 ตำบลเวียง อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย 57140
สาขาน้ำโจน - อุ้มผาง
123/4 หมู่ 1 ตำบลอุ้มผาง อำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก 63170
สาขาเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
99/9 หมู่ 8 ตำบลหนองบัว อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี 15140
สาขาเขาใหญ่ - ปากช่อง
299/2 ถนนมิตรภาพ ตำบลปากช่อง อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา 30130
สาขาดอยอินทนนท์
777/7 หมู่ 7 ตำบลบ้านหลวง อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ 50160
สาขาเชียงแสน
999/9 หมู่ 3 ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย 57150
สาขาสังขละบุรี
88/88 หมู่ 3 ตำบลหนองลู อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี 71240
สาขาเกาะกูด
55/5 หมู่ 1 ตำบลเกาะกูด อำเภอเกาะกูด จังหวัดตราด 23000
สาขาเกาะหมาก
111/1 หมู่ 1 ตำบลเกาะหมาก อำเภอเกาะกูด จังหวัดตราด 23000
สาขาพิษณุโลก - สนามบิน
99/99 หมู่ 4 ตำบลอรัญญิก อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000
สาขาสุโขทัย - อุทยานประวัติศาสตร์
123/45 หมู่ 3 ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย 64000
สาขากำแพงเพชร - อุทยานประวัติศาสตร์
88/12 ถนนราชดำเนิน ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร 62000
สาขาพิมาย - อุทยานประวัติศาสตร์
333/9 ถนนท่าสงกรานต์ ตำบลในเมือง อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา 30110
สาขาพนมรุ้ง - อุทยานประวัติศาสตร์
199/2 ตำบลตาเป๊ก อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์ 31110
สาขาลพบุรี - พระนารายณ์
111/8 ถนนพระยาพหล ตำบลท่าหิน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี 15000
สาขาเพชรบุรี - พระนครคีรี
89/7 ถนนราชวิถี ตำบลคลองกระแชง อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี 76000
สาขาราชบุรี - โพธาราม
299/1 ถนนโพธาราม-บ้านเลือก ตำบลโพธาราม อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี 70120
สาขาประจวบคีรีขันธ์ - เมืองเก่า
55/9 ถนนสู้ศึก ตำบลประจวบคีรีขันธ์ อำเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77000
สาขาสุพรรณบุรี - อู่ทอง
456/7 ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี 72160
สาขาน่าน - พระธาตุแช่แห้ง
99/9 ถนนผากอง ตำบลในเวียง อำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน 55000
สาขาแพร่ - เมืองเก่า
159/3 ถนนคุ้มเดิม ตำบลในเวียง อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ 54000
สาขาลำปาง - พระธาตุลำปางหลวง
889/1 ตำบลลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง 52130
NYC Visa Translation
nycvisa-translation.com
Global Translation
globaltranslation.online
Translaingo
translaingo.ltd
iTranslation
itranslation.me
NYC Visa
nycvisa.org
Number1 Visa
number1visaservice.com
NYC Language
nyclanguageinstitute.com
Notary Public
notarypublic.ltd
NAATI
naati.me
NAATI Services
naati.site
NAATI Thailand
naatithailand.com
Notary Blog
notarypublic.blog
Notary Thailand
notarypublicthailand.ltd
แปลภาษา
แปลภาษา.online
ตรวจประวัติอาชญากรรม
ตรวจประวัติอาชญากรรม.online
ILC
ilc.ltd
IVC
ivc.ltd
NYC School
nyc-school.com
ILC Thailand
ilcthailand.com
Number1 Translator
number1translator.com
NYC Translation
nyctranslation.online
Global Visa
globalvisa.ltd
NYC Visa
nycvisa.ltd
ABB Notary Public
abbnotarypublic.com
NAATI Blog
naati.blog
สถาบันภาษา NYC
สถาบันภาษาเอ็นวายซี.com
Number1 Visa
number1visa.com
NAATI LTD
naati.ltd
Translingo
translingo.online
Notary Public Blog
notarypublic.blog
ตรวจประวัติ
ตรวจประวัติ.online
Translingo LTD
translingo.ltd
ตรวจประวัติอาชญากร
ตรวจประวัติอาชญากร.online
ตรวจประวัติ
ตรวจประวัติ.online
สถาบันภาษาเอ็นวายซี
สถาบันภาษาเอ็นวายซี.online
Contact
บริษัท เอ็นวายซีวีซ่าแอนด์ทรานสเลชั่น จำกัด
NYC Visa & Translation Co., Ltd.
เปิดทำการ วันจันทร์-เสาร์ เวลา 09:00-18:00