ศูนย์แปลภาษาบริการรับยื่นวีซ่า NYC VISA&TRANSLATION CALL CENTER:0832494999
บริการแปลเอกสาร 300 ภาษาทั่วโลก
บริการยื่นวีซ่าทุกประเทศทั่วโลก
บริการรับรองเอกสารกงสุล
บริการทนาย NOTARY PUBLIC
บริการแปลและรับรองโดย NAATI
บริการขอใบตรวจสอบประวัติอาชญากรรม
บริการจดทะเบียนสมรสกับสัญชาติลาว
  • Home
  • ติดต่อสาขา
  • ลูกค้าของเรา
  • รับยื่นวีซ่าทั่วโลก
  • รับแปลเอกสาร 300 ภาษา
  • รับรองกงสุล
  • Notary Public
  • ศึกษาต่อต่างประเทศ
  • NAATI
  • บริการ Work Permit
  • Thai Visa Service
  • บริการตรวจสอบประวัติอาชญากรรม
  • บริการจดทะเบียนสมรสกับชาวลาว
  • Apec Card
  • เช็คราคาแปลเอกสาร
Picture
บริการให้คำปรึกษารับยื่นวีซ่าประเทศบังกลาเทศ
Bangladesh Visa Service in Thailand
​​
Picture
NYC Visa Service  มีประสบการณ์ในการทำวีซ่าประเทศบังกลาเทศ มาเป็นเวลามากกว่ากว่าสิบปี โดยมีผู้เชี่ยวชาญคอยให้บริการคำปรึกษาท่านตลอดเวลาไม่ว่าจะเป็นวีซ่าท่องเที่ยวประเทศบังกลาเทศ วีซ่าเยี่ยมญาติประเทศบังกลาเทศ วีซ่าเยี่ยมเพื่อนประเทศบังกลาเทศ วีซ่านักเรียนประเทศบังกลาเทศ วีซ่าถาวรประเทศบังกลาเทศ วีซ่าแต่งงานประเทศบังกลาเทศ วีซ่าคู่หมั้นประเทศบังกลาเทศ วีซ่าย้ายถิ่นฐานประเทศบังกลาเทศ วีซ่าติดตามประเทศบังกลาเทศ วีซ่าทำงานประเทศบังกลาเทศ วีซ่าดูงานประเทศบังกลาเทศ วีซ่าฝึกงานประเทศบังกลาเทศ วีซ่าธุรกิจประเทศบังกลาเทศ นอกจากนี้ยังมีบริการแปลเอกสารต่างๆ ทุกประเภท นอกจากนี้เรามีบริการให้คำปรึกษาในการยื่นขอวีซ่า วิเคราะห์ปัญหาของผู้ต้องการยื่นวีซ่า ประเมินโอกาสในการยื่นขอวีซ่าของท่านให้มีการดำเนินการอย่างถูกต้องและเพื่อให้มีความสอดคล้องกับสถานการณ์ของผู้ขอยื่นวีซ่า และเพื่อให้ลูกค้าทุกท่านที่เข้ามาใช้บริการเราได้รับความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น เรายังมีบริการเป็นตัวแทนยื่นขอวีซ่าให้กับท่าน เป็นตัวแทนไปรับวีซ่าแทนท่าน และบริการจัดส่งเอกสารสำหรับท่านที่อยู่ต่างจังหวัดอีกด้วย

ยินดีต้อนรับเข้าสู่ NYC Visa Service ซึ่งเป็นเชี่ยวชาญให้บริการทางด้านรับทำวีซ่าและกฎหมายการตรวจคนเข้าเมืองโดยตรงของประเทศ
บังกลาเทศ (Bangladesh Visa Service in Thailand) เราเปิดให้บริการ รับปรึกษา รับยื่น รับทำ รับยื่นแก้วีซ่าไม่ผ่านทุกประเทศทั่วโลก เพื่อช่วยเหลือทุกท่านให้ได้รับวีซ่าได้ตามต้องการการ กับประเทศที่ต้องการจะเดินทาง จน NYC Visa Service ได้รับความสำเร็จอย่างสูงในการได้รับอนุมัติวีซ่าของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก          เนื่องจากทางเรามีบริการหลากหลายรูปแบบไว้อำนวยความสะดวกแก่ท่าน มีทีมงานมืออาชีพ เราเปิดให้บริการมายาวนานมากกว่า12 ปี และมีศูนย์บริการอยู่ทั่วประเทศมากถึง 12 ศูนย์ และยังมีการขยายงานเปิดศูนย์เพิ่มเติมทั่วประเทศเพื่อเข้าถึงกลุ่มลูกค้าที่ต้องการใช้บริการ เราเป็นตัวกลางในการยื่นของวีซ่ากับสถานทูตแต่ล่ะประเทศ สำหรับทุกท่านที่พบปัญหา เพื่อช่วยให้ท่านเข้าใจรูปแบบปัญหาที่จะเกิดขึ้นทั้งหมด จึงทำให้ท่านประหยัดเวลา รวมไปถึงความแน่นอนในการได้รับวีซ่า            

จากการที่ NYC Visa Service  มีความชำนาญในเรื่องกฎหมายตรวจคนเข้าเมืองของประเทศบังกลาเทศ (Bangladesh Visa Service in Thailand)  จึงทำให้ได้รับการอนุมัติวีซ่าเร็วและง่ายขึ้น จึงพร้อมดำเนินการให้แก่ท่าน ตั้งแต่จัดเตรียมเอกสาร ประเมินแนะนำขั้นตอน  พร้อมแก้ปัญหาที่จะเกิด การเตรียมตัว รวมไปถึงดูแลยื่นเอกสารที่สถานทูตในแต่ล่ะประเทศ  ถ้าคุณเป็นคนหนึ่งที่อยากเดินทางไปต่างประเทศ ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใด ๆ และไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นอย่างไร เราสามารถให้คำปรึกษา และบริการยื่นวีซ่าให้คุณได้  
           

NYC Visa Service เป็นบริษัทที่รับทำวีซ่าทุกประเภท อาทิ เชงเก้นวีซ่า (Schengen visa), วีซ่าประเทศอเมริกา วีซ่าประเทศอังกฤษ วีซ่าประเทศออสเตรเลีย วีซ่าประเทศฝรั่งเศส วีซ่าประเทศสวีเดน วีซ่าประเทศเยอรมัน  วีซ่าประเทศอิตาลี  วีซ่าประเทศนิวซีแลนด์ วีซ่าประเทศนอร์เวย์ วีซ่าประเทศฟินแลนด์ วีซ่าประเทศออสเตรีย วีซ่าสเปน วีซ่าประเทศเดนมาร์ วีซ่าประเทศเนเธอร์แลนด์ วีซ่าประเทศโปแลนด์ วีซ่าประเทศฟินแลนด์ รับยื่นวีซ่าประเทศนอร์เวย์ รับยื่นวีซ่าประเทศเบลเยียม รับยื่นวีซ่าประเทศโปรตุเกส  รับยื่นวีซ่าประเทศกรีซ รับยื่นวีซ่าประเทศโครเอเชีย รับยื่นวีซ่าประเทศเช็ก รับยื่นวีซ่าประเทศฟินแลนด์ รับยื่นวีซ่าประเทศมอลโดวา รับยื่นวีซ่าประเทศมอลตา รับยื่นวีซ่าประเทศมาซิโดเนีย รับยื่นวีซ่าประเทศยูเครน รับยื่นวีซ่าประเทศรัสเซีย ​รับยื่นวีซ่าประเทศโรมาเนีย รับยื่นวีซ่าประเทศลักเซมเบิร์กรับยื่นวีซ่าประเทศลัตเวีย รับยื่นวีซ่าประเทศลิทัวเนีย รับยื่นวีซ่าประเทศสวิตเซอร์แลนด์ รับยื่นวีซ่าประเทศสวีเดน รับยื่นวีซ่าประเทศออสเตรีย รับยื่นวีซ่าประเทศอิตาลี ​รับยื่นวีซ่าประเทศไอซ์แลนด์  รับยื่นวีซ่าประเทศไอร์แลนด์ รับยื่นวีซ่าประเทศฮังการี วีซ่าบังกลาเทศ (Bangladesh Visa Service in Thailand) เป็นต้น นอกจากนี้เรายังมีบริการรับแปลเอกสาร บริการรับรองเอกสารภาษาอื่น ๆ บริการประกันการเดินทาง และบริการอื่น ๆ อีกมากมาย

NYC Visa Service  มีประสบการณ์ในการทำวีซ่ามาเป็นเวลามากกว่ากว่าสิบปี โดยมีผู้เชี่ยวชาญคอยให้บริการคำปรึกษาท่านตลอดเวลาไม่ว่าจะเป็นวีซ่าท่องเที่ยว วีซ่าเยี่ยมญาติ วีซ่าเยี่ยมเพื่อน วีซ่านักเรียน วีซ่าถาวร วีซ่าแต่งงาน วีซ่าคู่หมั้น วีซ่าย้ายถิ่นฐาน วีซ่าติดตาม วีซ่าทำงาน วีซ่าดูงาน วีซ่าฝึกงาน วีซ่าธุรกิจ ประเทศ
บังกลาเทศ (Bangladesh Visa Service in Thailand) นอกจากนี้ยังมีบริการแปลเอกสารต่าง ๆ ทุกประเภท นอกจากนี้เรามีบริการให้คำปรึกษาในการยื่นขอวีซ่า วิเคราะห์ปัญหาของผู้ต้องการยื่นวีซ่า ประเมินโอกาสในการยื่นขอวีซ่าของท่านให้มีการดำเนินการอย่างถูกต้องและเพื่อให้มีความสอดคล้องกับสถานการณ์ของผู้ขอยื่นวีซ่า และเพื่อให้ลูกค้าทุกท่านที่เข้ามาใช้บริการเราได้รับความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น เรายังมีบริการเป็นตัวแทนยื่นขอวีซ่าให้กับท่าน เป็นตัวแทนไปรับวีซ่าแทนท่าน และบริการจัดส่งเอกสารสำหรับท่านที่อยู่ต่างจังหวัดอีกด้วย ให้ NYC Visa Service  ของเราเป็นส่วนหนึ่งในการดูแลการดำเนินการขอยื่นวีซ่าบังกลาเทศ (Bangladesh Visa Service in Thailand)  ​ของท่าน ทีมงานของเราจะดูแลตั้งแต่ปัญหาพื้นฐาน การจัดเตรียมเอกสาร เป็นตัวแทนเพื่อยื่นขอวีซ่าของคุณ เราจะดูแลและติดตามผลหลังการให้บริการอย่างดีที่สุด

ประเทศบังกลาเทศจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไบยังการนำทางไปยังการค้นหา
สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ
গণপ্রজাতন্ত্রী বাংলাদেশ (เบงกาลี)

ธงชาติตราแผ่นดิน
คำขวัญ: ไม่มี
เพลงชาติ: Amar Shonar Bangla
("บังกลาแดนทองของข้า")
MENU
0:00


เมืองหลวง
(และเมืองใหญ่สุด)ธากา
23°42′N 90°22′E
ภาษาราชการภาษาเบงกาลี
การปกครองประชาธิปไตยระบบรัฐสภา
• ประธานาธิบดีอับดุล ฮามิด
• นายกรัฐมนตรีเชก ฮาซินา
เอกราชจาก ปากีสถาน 
• ประกาศ26 มีนาคม พ.ศ. 2514 
• เป็นที่ยอมรับ16 ธันวาคม พ.ศ. 2514 
พื้นที่
• รวม144,000 ตร.กม. (93)
55,598 ตร.ไมล์ 
• แหล่งน้ำ (%)7.0%
ประชากร
• พ.ศ. 2560 (ประเมิน)162,951,560[1] (8)
• พ.ศ. 2554 (สำมะโน)149,772,364[2] (8)
• ความหนาแน่น1,106 คน/ตร.กม. (10)
2,864.5 คน/ตร.ไมล์
จีดีพี (อำนาจซื้อ)2560 (ประมาณ)
• รวม$ 686.499 พันล้าน 
• ต่อหัว$ 4,206 
จีดีพี (ราคาตลาด)2560 (ประมาณ)
• รวม$ 250.023 พันล้าน 
• ต่อหัว$ 1,532 
จีนี (2553)32.1[3] 
HDI (2559) 0.579 (ปานกลาง) (139th)
สกุลเงินตากา (BDT)
เขตเวลาBDT (UTC+6)
 • ฤดูร้อน (DST)not observed (UTC+6)
ขับรถด้านซ้ายมือ
โดเมนบนสุด.bd
รหัสโทรศัพท์880 - รหัสย่อยบังกลาเทศ (เบงกาลี: বাংলাদেশ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ (เบงกาลี: গণপ্রজাতন্ত্রী বাংলাদেশ) เป็นประเทศในเอเชียใต้ ซึ่งครอบครองเนื้อที่ในส่วนตะวันตกของภูมิภาคเบงกอล คำว่า "บังกลาเทศ (Bangladesh)" แปลว่า "ประเทศแห่งเบงกอล" ถูกล้อมรอบประเทศอินเดีย 3 ด้าน ยกเว้นพรมแดนด้านใต้ติดอ่าวเบงกอล และตะวันออกเฉียงใต้ติดประเทศพม่า

เนื้อหา
  • 1ประวัติศาสตร์
  • 2ภูมิศาสตร์
    • 2.1ภูมิประเทศ
    • 2.2ภูมิอากาศ
  • 3การเมือง
    • 3.1ฝ่ายนิติบัญญัติ
    • 3.2ฝ่ายบริหาร
    • 3.3ฝ่ายตุลาการ
    • 3.4พัฒนาการทางการเมืองของบังกลาเทศภายหลังเอกราช
    • 3.5สถานการณ์การเมืองปัจจุบัน
    • 3.6นโยบายรัฐบาลชุดปัจจุบัน
    • 3.7ด้านความมั่นคง
    • 3.8ด้านต่างประเทศ
  • 4เขตการปกครอง
  • 5เศรษฐกิจ
    • 5.1การค้า
    • 5.2การลงทุน
    • 5.3คมนาคม
  • 6ประชากร
    • 6.1ศาสนา
  • 7ดูเพิ่ม
  • 8อ้างอิง
ประวัติศาสตร์[แก้]
รูปปั้นพระพุทธรูปสมัยศตวรรษที่ 11

ปาฮาร์ปัวร์ดินแดนที่เป็นประเทศบังกลาเทศในปัจจุบันมีประวัติศาสตร์อันยาวนานกว่า 1,000 ปี เดิมเป็นส่วนหนึ่งของชมพูทวีป (อินเดีย) เคยเป็นดินแดนที่เจริญรุ่งเรืองของศาสนาพราหมณ์และพระพุทธศาสนามาก่อน ต่อมาพ่อค้าชาวอาหรับได้นำศาสนาอิสลามเข้ามาเผยแผ่ จนชาวบังกลาเทศส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลามมาจนถึงทุกวันนี้
ในปี พ.ศ. 2300 อังกฤษได้เข้าไปยึดครองชมพูทวีป และดินแดนแห่งนี้ได้ตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษเกือบ 200 ปี ต่อมาในปี พ.ศ. 2490 ดินแดนแถบนี้ได้รับเอกราช แต่บังกลาเทศก็ยังคงเป็นส่วนหนึ่งของปากีสถาน เรียกกันว่าปากีสถานตะวันออก
ต่อมาชาวเบงกาลีในปากีสถานตะวันออก ไม่พอใจการบริหารงานของรัฐบาลกลาง ซึ่งอยู่ในปากีสถานตะวันตก เนื่องจากถูกแสวงหาประโยชน์และได้รับการปฏิบัติอย่างไม่เท่าเทียม ซึ่งสร้างความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจระหว่างปากีสถานตะวันตกและปากีสถานตะวันออก นอกจากนี้ปากีสถานทั้งสองยังมีความแตกต่างด้านภาษา วัฒนธรรม และเชื้อชาติอีกด้วย ชาวเบงกาลีจึงจัดตั้งพรรค Awami League (AL) ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2492เพื่อปกป้องผลประโยชน์ของชาวเบงกาลี โดยมี Sheikh Mujibur Rahman เป็นหัวหน้า
เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2514 ปากีสถานตะวันออกได้ประกาศแยกตัวเป็นเอกราช ภายใต้ชื่อ สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ ทำให้ปากีสถานตะวันตกส่งกองกำลังทหารเข้าปราบปราม อินเดียได้ส่งทหารเข้าไปช่วยเหลือปากีสถานตะวันออก ในที่สุดฝ่ายปากีสถานตะวันตกพ่ายแพ้ในการรบ และยินยอมให้เอกราชแก่บังกลาเทศ เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2514
ในระยะแรก บังกลาเทศปกครองโดยระบอบประธานาธิบดี มีนาย Sheikh Mujibur Rahman หัวหน้าพรรค AL เป็นประมุขของรัฐและฝ่ายบริหารคนแรก (Father of the Nation) ประธานาธิบดี Sheikh Mujibur Rahman ถูกลอบสังหารเมื่อวันที่ 15 สิงหาคมพ.ศ. 2518 โดยฝีมือนายทหารกลุ่มหนึ่ง การปกครองในระยะแรกนี้ มีการก่อรัฐประหารหลายครั้ง และลอบสังหารประธานาธิบดีจนเสียชีวิตหลายคน สถานการณ์ทางการเมืองของบังกลาเทศตกอยู่ในสภาวะระส่ำระสาย และเป็นการปกครองโดยผู้นำทางทหารตลอดมากว่า 20 ปี และพลโท Hussain Mohammad Ershad ประธานาธิบดี (ดำรงตำแหน่งระหว่าง พ.ศ. 2525 – 2533) ได้ถูกฝ่ายค้านกดดันให้แก้ไขรัฐธรรมนูญ เพื่อถ่ายโอนอำนาจการบริหารจากประธานาธิบดีไปให้นายกรัฐมนตรี พลโท Ershad ได้ลาออกจากตำแหน่งประธานาธิบดีในปี พ.ศ. 2533 และถูกจำคุกในข้อหาฉ้อราษฎร์บังหลวง
ในปี พ.ศ. 2533 บังกลาเทศได้จัดการเลือกตั้งทั่วไปภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับแก้ไขเป็นครั้งแรก โดยผลการเลือกตั้งปรากฏว่า พรรค Bangladesh Nationalist Party (BNP) นำโดยนาง Khaleda Zia ได้รับชัยชนะ และเมื่อมีการเลือกตั้งทั่วไปอีกครั้งในปี พ.ศ. 2535 นาง Zia ก็ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกสมัยหนึ่ง และเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2539ประธานาธิบดีบังกลาเทศได้ประกาศยุบสภาและจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2539 ภายหลังความวุ่นวายจากการประท้วงของพรรคฝ่ายค้าน ซึ่งประกอบด้วยพรรค Awami League (AL), พรรค Jatiya Party (JP), และพรรค Jamaat-e-Islami (JI) ที่ต้องการให้นาง Khaleda Zia นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าพรรค Bangladesh Nationalist Party (BNP) ลาออก ผลการเลือกตั้งปรากฏว่า พรรคฝ่ายค้านได้รับชัยชนะและนาง Sheikh Hasina หัวหน้าพรรค AL (บุตรสาวของอดีตประธานาธิบดี Sheikh Mujibur Rahman )ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ภายใต้รัฐบาลผสมครั้งแรกของบังกลาเทศ ระหว่างพรรค AL และพรรค JP ที่มีพลโท Ershad อดีตประธานาธิบดีเป็นหัวหน้าพรรค และได้ปฏิญาณตนเข้ารับตำแหน่งนายรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2539 แต่ต่อมาในเดือนกันยายน 2540 พรรค JP ได้ถอนตัวออกจากรัฐบาล และเข้าเป็นแนวร่วมฝ่ายค้านกับพรรค BNP
ตามรัฐธรรมนูญของบังกลาเทศ คณะรัฐมนตรีจะอยู่ในตำแหน่งคราวละ 5 ปี ดังนั้น ในวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 รัฐบาลของนาง Sheikh Hasina จึงได้หมดวาระลง และเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม ปีเดียวกัน ประธานาธิบดี Shahabuddin Ahmed ได้ประกาศยุบสภาตามคำแนะนำของนายกรัฐมนตรี และเมี่อวันที่ 15 กรกฎาคม ปีเดียวกัน รัฐบาลของนาง Sheikh Hasina ได้ถ่ายโอนอำนาจไปยังรัฐบาลรักษาการที่จะต้องมีหน้าที่ จัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปภายใน 90 วัน และในการนี้ประธานาธิบดี Shahabuddin Ahmed ได้แต่งตั้ง Justice Latifur Rahman อดีตหัวหน้าผู้พิพากษาศาลฎีกาให้ดำรงตำแหน่ง Chief Advisor ของรัฐบาลรักษาการ หรือเทียบเท่านายกรัฐมนตรี และนาย Latifur Rahman ได้สาบานตนเข้ารับตำแหน่งในวันเดียวกัน นอกจากนี้ ประธานาธิบดี Shahabuddin Ahmed ได้แต่งตั้งคณะที่ปรึกษา (Council of Advisors) จำนวน 10 คน ตามคำแนะนำของนาย Latifur Rahman เพื่อปฏิบัติหน้าที่เทียบเท่ารัฐมนตรีในคณะรัฐบาล ซึ่งคณะที่ปรึกษาดังกล่าวได้สาบานตนเข้ารับตำแหน่งเมื่อ 16 กรกฎาคม ปีเดียวกัน
ภูมิศาสตร์[แก้]
ภาพถ่ายดาวเทียม เดือนตุลาคม 2554ภูมิประเทศ[แก้]พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำสำคัญ 2 สาย คือ แม่น้ำคงคาและแม่น้ำพรหมบุตร
ภูมิอากาศ[แก้]อยู่ในเขตมรสุม เมืองร้อน ฝนตกชุก มีปริมาณน้ำฝนมากถึง 5,690 มิลลิเมตร/ปี โดยเฉพาะในช่วงเดือนกรกฎาคม-ตุลาคม พื้นที่ราบลุ่มหลายแห่งมักจะประสบปัญหาอุทกภัยอยู่เสมอ
  • แบ่งออกเป็น 3 ฤดู คือ ฤดูหนาว (พฤศจิกายน-กุมภาพันธ์) ฤดูร้อน (มีนาคม-มิถุนายน) และฤดูฝน (กรกฎาคม-ตุลาคม)
  • อุณหภูมิต่ำสุดในเดือนมกราคม ประมาณ 5.5°C - 14.4°C
  • อุณหภูมิสูงสุดในเดือนกรกฎาคม ประมาณ 29.9°C - 36.8°C
  • ความชื้นในกรุงธากาช่วงฤดูฝนสูงมาก
การเมือง[แก้]
Jatiyo Sangshad Bhaban

Jatiyo Sangshad Bhabanฝ่ายนิติบัญญัติ[แก้]บังกลาเทศมีเพียงสภาเดียว คือ Jatiya Sangsad หรือสภาแห่งชาติ ประกอบด้วยสมาชิก 300 คน มาจากการเลือกตั้งทั่วไปทุก 5 ปี โดยมี Barrister Muhammad Jamiruddin Sircar เป็นประธานสภาแห่งชาติคนปัจจุบัน (โดยประธานสภาจะดำรงตำแหน่งเป็นรักษาการประธานาธิบดี หากประธานาธิบดีไม่สามารถดำรงตำแหน่งได้)
ฝ่ายบริหาร[แก้]ประธานาธิบดีเป็นประมุขของรัฐ มาจากการเลือกสรรโดยรัฐสภา และอยู่ในตำแหน่งคราวละ 5 ปี ปฏิบัติหน้าที่โดยได้รับคำแนะนำจากนายกรัฐมนตรี มีบทบาทหน้าที่ในด้านพิธีการ มีอำนาจในการแต่งตั้งรองประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี หัวหน้าคณะผู้พิพากษาและคณะผู้พิพากษา แต่เมื่ออยู่ในฐานะผู้รักษาการขณะที่ไม่มีรัฐบาล ประธานาธิบดีจะมีอำนาจเพิ่มขึ้นในการควบคุมกระทรวงกลาโหมและสามารถประกาศกฎอัยการศึก รวมทั้งสามารถยุบสภาฯ ตามที่ได้รับการเสนอโดยนายกรัฐมนตรีและแต่งตั้งรัฐบาลรักษาการได้ ประธานาธิบดีคนปัจจุบัน คือ ดร. Iajuddin Ahmed ดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2545 พรรคที่มีเสียงข้างมากในรัฐสภาจะได้รับโอกาสในการจัดตั้งรัฐบาลก่อน โดยหัวหน้าพรรคที่ได้รับเสียงข้างมากจะได้รับการแต่งตั้งจากประธานาธิบดีให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและอยู่ในตำแหน่งคราวละ 5 ปี ล่าสุดพรรค Bangladesh Nationalist Party นำโดยนาง Khaleda Zia ได้รับชัยชนะในการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2544 และได้สิ้นสุดวาระลงเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2549 ปัจจุบันมีรัฐบาลรักษาการโดยมี ดร. Fakhruddin Ahmed ดำรงตำแหน่งหัวหน้าที่ปรึกษารัฐบาลรักษาการ (Chief of Caretaker Government) เพื่อดูแลกระทรวงต่างๆ และเตรียมการเลือกตั้งที่จะมีขึ้นในช่วงปลายปี พ.ศ. 2550
ฝ่ายตุลาการ[แก้]บังกลาเทศใช้ระบบศาลแบบอังกฤษ โดยมีทั้งศาลแพ่งและศาลอาญา โดยศาลฎีกา (Supreme Court) เป็นศาลสูงสุดซึ่งแบ่งเป็นสองส่วนคือ Appellate Division และ High Court Division และยังมีศาลระดับล่างได้แก่ district courts thana courts และ village courts นอกจากนี้ยังมีศาลพิเศษอื่นๆ เช่น ศาลครอบครัว ศาลแรงงาน เป็นต้น
พัฒนาการทางการเมืองของบังกลาเทศภายหลังเอกราช[แก้]ประธานาธิบดี Sheikh Mujibur Rahman ถูกลอบสังหารเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2518 โดยฝีมือนายทหารกลุ่มหนึ่ง การปกครองในระยะแรกนี้มีการก่อรัฐประหารหลายครั้ง และลอบสังหารประธานาธิบดีจนเสียชีวิตหลายคน สถานการณ์ทางการเมืองของบังกลาเทศตกอยู่ในสภาวะระส่ำระสายและเป็นการปกครองโดยผู้นำทางทหารตลอดมากว่า 20 ปี และพลโท Hussain Mohammad Ershad ประธานาธิบดี (ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2525 – 2533) ได้ถูกฝ่ายค้านกดดันให้แก้ไขรัฐธรรมนูญ เพื่อถ่ายโอนอำนาจการบริหารจากประธานาธิบดีไปให้นายกรัฐมนตรี พลโท Ershad ได้ลาออกจากตำแหน่งประธานาธิบดีในปี 2533 และถูกจำคุกในข้อหาฉ้อราษฎร์บังหลวง ในปี 2533 บังกลาเทศได้จัดการเลือกตั้งทั่วไปภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับแก้ไขเป็นครั้งแรก โดยผลการเลือกตั้งปรากฏว่า พรรค Bangladesh Nationalist Party (BNP) นำโดยนาง Khaleda Zia ได้รับชัยชนะ และเมื่อมีการเลือกตั้งทั่วไปอีกครั้งในปี 2535 นาง Khaledia Zia ก็ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกสมัยหนึ่ง และเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2539 ประธานาธิบดีบังกลาเทศได้ประกาศยุบสภาและจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2539 ภายหลังความวุ่นวายจากการประท้วงของพรรคฝ่ายค้านซึ่งประกอบด้วยพรรค Awami League พรรค Jatiya Party (JP) และพรรค Jamaat-e-Islami (JI) ที่ต้องการให้นาง Khaleda Zia ลาออก ผลการเลือกตั้งปรากฏว่า พรรคฝ่ายค้านได้รับชัยชนะและนาง Sheikh Hasina หัวหน้าพรรค AL (บุตรสาวของอดีตประธานาธิบดี Sheikh Mujibur Rahman) ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ภายใต้รัฐบาลผสมครั้งแรกของบังกลาเทศ ระหว่างพรรค AL และพรรค JP ที่มีพลโท Ershad อดีตประธานาธิบดีเป็นหัวหน้าพรรค และได้ปฏิญาณตนเข้ารับตำแหน่งนายรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2539 แต่ต่อมาในเดือนกันยายน พ.ศ. 2540 พรรค JP ได้ถอนตัวออกจากรัฐบาลและเข้าเป็นแนวร่วมฝ่ายค้านกับพรรค BNP ตามรัฐธรรมนูญของบังกลาเทศ คณะรัฐมนตรีจะอยู่ในตำแหน่งคราวละ 5 ปี ดังนั้น ในวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 รัฐบาลของนาง Sheikh Hasina จึงได้หมดวาระลง และเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 ประธานาธิบดี Shahabuddin Ahmed ได้ประกาศยุบสภาตามคำแนะนำของนายกรัฐมนตรี และเมี่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 รัฐบาลของนาง Sheikh Hasina ได้ถ่ายโอนอำนาจไปยังรัฐบาลรักษาการที่จะต้องมีหน้าที่ จัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปภายใน 90 วัน และในการนี้ประธานาธิบดี Shahabuddin Ahmed ได้แต่งตั้ง Justice Latifur Rahman อดีตหัวหน้าผู้พิพากษาศาลฎีกาให้ดำรงตำแหน่ง Chief Advisor ของรัฐบาลรักษาการหรือเทียบเท่านายกรัฐมนตรีและนาย Latifur Rahman ได้เข้ารับตำแหน่งเมื่อ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 นอกจากนี้ ประธานาธิบดี Shahabuddin Ahmed ได้แต่งตั้งคณะที่ปรึกษา (Council of Advisors) จำนวน 10 คน ตามคำแนะนำของนาย Latifur Rahman เพื่อปฏิบัติหน้าที่เทียบเท่ารัฐมนตรีในคณะรัฐบาล ต่อมาในการเลือกตั้งทั่วไปเดือนตุลาคม พ.ศ. 2544 พรรค BNP ได้ชัยชนะในการเลือกตั้งและ นาง Khaleda Zia ได้เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2544 และได้สิ้นสุดวาระลงเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2549
สถานการณ์การเมืองปัจจุบัน[แก้]ตามที่รัฐบาลบังกลาเทศของนาง Khaleda Zia ได้สิ้นสุดวาระการบริหารประเทศเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2549 รัฐธรรมนูญได้กำหนดให้ประธานาธิบดีแต่งตั้งอดีตประธานศาลฎีกาเป็นหัวหน้ารัฐบาลรักษาการเพื่อจัดการเลือกตั้ง แต่พรรคร่วมฝ่ายค้านได้คัดค้านการแต่งตั้งดังกล่าว เนื่องจากเห็นว่าประธานศาลฎีกามีความใกล้ชิดกับพรรครัฐบาล ประธานาธิบดี Iajuddin Ahmed ได้ตัดสินใจเป็นหัวหน้ารัฐบาลรักษาการเองท่ามกลางเสียงคัดค้านของพรรคฝ่ายค้าน ซึ่งเห็นว่ารัฐบาลรักษาการและคณะกรรมการการเลือกตั้งไม่มีความเป็นกลางทางการเมือง และได้นำไปสู่การชุมนุมประท้วงและการจลาจล และการถอนตัวจากการเลือกตั้งของพรรคร่วมฝ่ายค้าน ในที่สุดประธานาธิบดีจึงได้ตัดสินใจประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน (State of Emergency) และลาออกจากตำแหน่งหัวหน้ารัฐบาลรักษาการเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2550 พร้อมทั้งประกาศเลื่อนการเลือกตั้งซึ่งกำหนดไว้ในวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2550 ออกไปอย่างไม่มีกำหนด นาย Fakhruddin Ahmed อดีตผู้ว่าธนาคารแห่งบังกลาเทศได้เข้ารับตำแหน่งหัวหน้าที่ปรึกษารัฐบาลรักษาการต่อจากประธานาธิบดี Iajuddin Ahmed เมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2550 โดยมีภารกิจเร่งด่วนของรัฐบาลรักษาการชุดใหม่ คือ การรักษาความสงบเรียบร้อยในประเทศ และจัดการเลือกตั้งที่ บริสุทธิ์ยุติธรรมให้เป็นที่ยอมรับทั้งภายในและนอกประเทศ โดยจะดำเนินการดังนี้
  1. แยกศาลยุติธรรมออกจากฝ่ายการเมือง
  2. ปรับปรุงบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งให้ถูกต้อง
  3. ปฏิรูปคณะกรรมการการเลือกตั้ง
  4. ปราบปรามการทุจริตคอรัปชั่นและกลุ่มอิทธิพล
  5. ทำให้ระบบราชการปลอดจากการครอบงำทางการเมือง
ทั้งนี้ คาดว่ารัฐบาลรักษาการของบังกลาเทศจะใช้เวลาในการปฏิรูปการเมืองประมาณ 6 – 9 เดือนก่อนที่จะมีการกำหนดวันเลือกตั้งใหม่
นโยบายรัฐบาลชุดปัจจุบัน[แก้]บังกลาเทศปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุขของประเทศ และมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหาร โดยมีพรรคสำคัญ 2 พรรคคือพรรค Bangladesh Nationalist Party (BNP) และพรรค Awami League (AL) โดยที่ทั้งสองพรรคได้ผลัดกันขึ้นเป็นรัฐบาลและฝ่ายค้านตลอดมา

กองทัพเรือบังกลาเทศด้านความมั่นคง[แก้]รัฐบาลบังกลาเทศที่ผ่านมาให้ความสำคัญกับการดำเนินการเพื่อปราบปรามการก่อการร้าย เช่น การจับกุมการค้าอาวุธที่ผิดกฎหมายการจับกุมและดำเนินคดีกับผู้ที่ถูกระบุแน่ชัดว่าเป็นผู้ก่อการร้าย การประกาศว่ารัฐบาลจะไม่ให้ที่พักพิงแก่ผู้ก่อการร้าย การปราบปรามกิจกรรมการก่อการร้ายในสถานศึกษา การจัดการประชุมระดับชาติเกี่ยวกับการต่อต้านการก่อการร้าย การสืบสวนเกี่ยวกับเหตุการณ์ลอบวางระเบิดต่าง ๆ และการจัดตั้งการปฏิบัติการ “Operation Clean Heart” ซึ่ง เป็นการรวมกองกำลังทหารร่วมกับตำรวจในการจับกุมผู้ต้องสงสัยเรื่องการก่อการร้ายทั่วประเทศ นอกจากนี้ รัฐบาลชุดที่ผ่านมายังประกาศที่จะยกเลิกกฎหมายต่างๆ ที่ไม่เป็นธรรม ซึ่งออกโดยรัฐบาลในอดีต อย่างไรก็ดี นโยบายการปราบปรามการก่อการร้ายได้ถูกวิพากษ์วิจารย์จากพรรคฝ่ายค้าน นักศึกษา และประชาชนว่าเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนและกระทำไปเพื่อจำกัดบุคคลที่ไม่เห็นด้วยกับรัฐบาล
ด้านต่างประเทศ[แก้]รัฐบาลชุดล่าสุดได้ดำเนินนโยบายต่างประเทศที่มุ่งเสริมสร้างผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ การดำเนินนโยบายต่างประเทศแบบมุ่งตะวันออก (Look East) โดยการกระชับความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกับจีนและประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อาทิ ไทย พม่า และสมาชิกอาเซียน ซึ่งนับเป็นมิติใหม่ของนโยบายต่างประเทศบังกลาเทศ การเดินทางเยือนภูมิภาคเอเชียของนายกรัฐมนตรีบังกลาเทศอย่างต่อเนื่อง นับเป็นประจักษ์พยานที่ดีต่อการเสริมสร้างนโยบายต่างประเทศที่มุ่งสนับสนุนผลประโยชน์ของบังกลาเทศในประเทศใหม่ ๆ เหล่านี้ ซึ่งการดำเนินนโยบายแบบมุ่งตะวันออกของบังกลาเทศนี้ ส่วนหนึ่งเป็นเพราะต้องการลดอิทธิพลของอินเดียที่มีต่อบังกลาเทศลงด้วยนอกจากนี้ บังกลาเทศมุ่งส่งเสริมความสัมพันธ์กับตะวันออกกลาง ซึ่งมีบทบาทสำคัญต่อเศรษฐกิจบังกลาเทศในด้านพลังงาน การส่งออกแรงงาน และความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาประเทศ และในฐานะที่เป็นประเทศ OIC ปัจจุบัน บังกลาเทศเป็นสมาชิก BIMSTEC ACD SAARC NAM และ ARF และเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดในการสนับสนุนภารกิจการรักษาสันติภาพ มีทหารบังกลาเทศจำนวน 9,758 ราย ปฏิบัติใน 12 ภารกิจทั่วโลก (ร้อยละ 14 ของกองกำลังรักษาสันติภาพทั้งหมด) ซึ่งเป็นการส่งเสริมภาพลักษณ์ของบังกลาเทศในทางที่ดี
เขตการปกครอง[แก้]
การแบ่งเขตการปกครองของบังคลาเทศเขตการปกครองของประเทศบังคลาเทศแบ่งออกเป็น 8 เขตการบริหาร[4] (administrative divisions) ชื่อเขตตั้งตามเมืองที่เป็นที่ตั้งของฝ่ายบริหาร ดังนี้
  • เขตขุลนา (খুলনা বিভাগ)
  • เขตจิตตะกอง (চট্টগ্রাম)
  • เขตธากา (ঢাকা)
  • เขตบอริชาล (বরিশাল)
  • เขตไมมันสิงห์ (ময়মনসিংহ)
  • เขตรังปุระ (রংপুর)
  • เขตราชชาหิ (রাজশাহী)
  • เขตสิเลฏ (সিলেট)
เศรษฐกิจ[แก้]
สะพานจามูนา หนึ่งในสะพานที่ยาวที่สุดในเอเชียใต้

คาร์วานพลาซ่า กรุงธากา
ประเทศบังกลาเทศตั้งอยู่ริมอ่าวเบงกอล มหาสมุทรอินเดีย ทำให้ได้รับอิทธิพลลมมรสุมจากมหาสมุทรอินเดียอยู่เสมอ เศรษฐกิจของบังกลาเทศจึงขึ้นอยู่กับการเพาะปลุกเป็นส่วนใหญ่ โดยเฉพาะปอกระเจา ซึ่งใช้เป็นวัตถุดิบในการถักกระสอบ แต่เนื่องจากบังกลาเทศมักประสบปัญหาอุทกภัยเป็นประจำ เนื่องจากเป็นจุดที่พายุไซโคลนเข้ามากที่สุดในบรรดาประเทศในเอเชียใต้ ทำให้การเพาะปลูกของบังกลาเทศก็ไม่ค่อยดีนัก ด้านอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมของบังกลาเทศส่วนมากเป็นอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับผลผลิตทางการเกษตร เช่น สิ่งทอซึ่งส่งออกเป็นอับดับสองของโลกรองจากจีน กระดาษ น้ำตาล เป็นต้น
  • สินค้าส่งออก ได้แก่ เสื้อผ้า ปอกระเจา เครื่อแต่งกาย อาหารทะเลและปลาแช่แข็ง ประเทศผู้ค้าสำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา เยอรมนีสหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ อิตาลี
  • สินค้านำเข้า ได้แก่ เครื่องจักรกล เคมีภัณฑ์ เหล็กและเหล็กกล้า ปิโตรเลียม ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ ได้แก่ อินเดีย สหภาพยุโรปญี่ปุ่น สิงคโปร์ จีน
สกุลเงินที่ใช้ : คือ ตากา
แม้บังกลาเทศจะเป็นหนึ่งในบรรดาประเทศที่มีการพัฒนาน้อยที่สุด (LDCs) แต่ก็ถือว่าเป็นประเทศที่มีศักยภาพทางเศรษฐกิจซึ่งไทยไม่ควรมองข้าม โดยเป็นแหล่งทรัพยากรน้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ และทรัพยากรทางทะเล พร้อมกันนี้ยังสามารถเป็นตลาดสินค้าต่าง ๆ ของไทย เช่น สินค้าอุปโภคบริโภค และการบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถึงแม้ว่าภาคธุรกิจบริการจะทำรายได้ให้กับบังกลาเทศคิดเป็นสัดส่วนถึงร้อยละ 50 ของ GDP แต่ประชาชนบังกลาเทศส่วนใหญ่ยังมีฐานะยากจน และประกอบอาชีพการเกษตร รัฐบาลบังกลาเทศเน้นในเรื่องเสรีภาพทางเศรษฐกิจ (economic freedom) โดยใช้การทูตเชิงเศรษฐกิจ (economic diplomacy) ให้ความสำคัญกับการดึงการลงทุนจากต่างชาติ (อนุญาตให้คนต่างชาติลงทุนถือหุ้นได้ทั้งหมดเช่นเดียวกับชาวบังกลาเทศ) รวมทั้งการเรียกความเชื่อมั่นในการลงทุนในตลาดหุ้นของนักลงทุนทั้งภายในและจากต่างประเทศให้กลับคืนมา กระตุ้นการส่งออกโดยเฉพาะการเพิ่มโควตาการส่งออกเสื้อผ้าสำเร็จรูปไปยังต่างประเทศ การส่งเสริมให้แรงงานบังกลาเทศไปทำงานในต่างประเทศ และการทบทวนเรื่องการให้ visa on arrival กับประเทศต่างๆ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว
การค้า[แก้]บังกลาเทศยึดหลักเศรษฐกิจการตลาด มีนโยบายส่งเสริมการส่งออก อย่างไรก็ดี โดยที่การส่งออกของบังกลาเทศขึ้นอยู่กับสินค้าเพียงไม่กี่ชนิดและมีตลาดส่งออกที่จำกัดเพียงไม่กี่ประเทศ (โดยร้อยละ 76 ของการส่งออกทั้งหมดเป็นสินค้าสิ่งทอที่ส่งไปยุโรป) จึงให้ความสำคัญกับการสร้างความหลากหลายให้กับตัวสินค้าและหาตลาดส่งออกเพิ่มขึ้น ทั้งนี้เพื่อเพิ่มปริมาณการส่งออกให้มากที่สุดและลดการขาดดุลการค้า บังกลาเทศพึ่งพาการนำเข้าจากอินเดียเป็นส่วนใหญ่ มีมูลค่าถึงปีละ 4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ อย่างไรก็ตาม รัฐบาลล่าสุดได้มั่งเน้นนโยบายที่จะหันไปค้าขายกับประเทศอื่นๆ ให้มากขึ้น เพื่อลดการพิ่งพาอินเดียลง สวนปัญหาและอุปสรรคทางการค้า ได้แก่ การห้ามนำเข้าหรือการจำกัดโควตาข้าวและน้ำตาล รวมทั้งปัญหาด้านการขนส่ง เป็นต้น ระบบพิธีการศุลกากรมาตรการที่มิใช่ทางภาษี เช่น การห้ามนำเข้าหรือจำกัดโควตา
การลงทุน[แก้]ตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2533 บังกลาเทศได้ปรับเปลี่ยนนโยบายหลายประการเพื่อกระตุ้นและส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศ เช่น ไม่มีข้อจำกัดเกี่ยวกับการถือหุ้นของต่างชาติ อนุญาตให้ส่งผลกำไรและรายได้ออกไปต่างประเทศได้โดยเสรี และมีมาตรการให้ความสำคัญกับบริษัทต่างชาติที่เข้าไปลงทุนในประเทศ เป็นต้น โดยสหรัฐอเมริกาเป็นนักลงทุนรายใหญ่ที่สุดในบังกลาเทศ รองลงมา คือ มาเลเซีย ญี่ปุ่น และ สหราชอาณาจักร อุตสาหกรรมที่ควรเข้าไปลงทุน ได้แก่ ด้านการสำรวจแหล่งก๊าซธรรมชาติ ซึ่งมีมากถึง 11 ล้านล้านตารางฟุต ด้านสาธารณูปโภค ด้านประมง (แต่ปัจจุบันรัฐบาลบังกลาเทศยังไม่มีนโยบายที่จะเปิดให้ต่างชาติเข้าไปลงทุนในการจับปลาในบังกลาเทศ) การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรด้านอุตสาหกรรม เช่น เสื้อผ้า เครื่องหนัง อุตสาหกรรมเบา ด้านบริการต่าง ๆ และด้านการผลิตสินค้าอุปโภคและบริโภคขั้นพื้นฐาน อุปสรรคที่สำคัญที่ขัดขวางการลงทุน ได้แก่ การประสบภัยจากพายุไซโคลนและอุทกภัยบ่อยครั้ง การขาดแคลนโครงสร้างพื้นฐานด้านต่าง ๆ และปัญหาการเมืองภายในประเทศโดยเฉพาะการเดินขบวนประท้วง (hartal) ของพรรคฝ่ายค้านที่มีอยู่เป็นประจำ
คมนาคม[แก้]ทางบก
  • Bangladesh Telecom Regulatory Commission กำกับดูแลกิจการรถไฟ มีทางรถไฟความยาว 2,745 กม. ทางหลวง 201,182 กม.
  • ท่อส่งก๊าซธรรมชาติ (Pipelines) 1,250 กม.
ทางน้ำ
  • ท่าเรือทางทะเล ตั้งอยู่ที่ Chittagong และ Mongla
  • ท่าเรือทางน้ำภายในประเทศ ที่สำคัญตั้งอยู่ที่ Dhaka, Chanpur, Barisal
ประชากร[แก้]ประชากรมีประมาณ 163 ล้านคน (ค.ศ. 2016) มีอัตราการเติบโต 1.42% ความหนาแนนของประชากร 889 คน ต่อ ตร.กม. ซึ่งหนาแน่นมาก ส่วนใหญ่อาศับอยู่ในชนบท แต่ช่วงทศวรรษที่ผ่านมา อัตราการเกิดของประชากรในพื้นที่เมืองมีมากกว่าในชนบท
พลเมืองมีการศึกษา 65% อ่านออกเขียนได้ 41.1% (ข้อมูลจาก UNESCO ค.ศ. 2000-2004)
ศาสนา[แก้]ประชากรบังกลาเทศ นับถือศาสนาอิสลาม 90.5% ศาสนาฮินดู 8.5% ศาสนาคริสต์ 0.4% ศาสนาพุทธส่วนมากอยู่ในจิตตะกอง 0.6% ในบังกลาเทศมีตระกูลชาวพุทธสืบเนื่องมานานคือตระกูลบารัว
ดูเพิ่ม[แก้]
  • พุทธศาสนาในประเทศบังกลาเทศ
อ้างอิง[แก้]
  1. ↑ "การประเมินประชากรโลก พ.ศ. 2560". ESA.UN.org (custom data acquired via website). United Nations Department of Economic and Social Affairs, Population Division. สืบค้นเมื่อ 10 กันยายน พ.ศ. 2560.
  2. ↑ Data Archived 4 September 2011 at the Wayback Machine.. Census – Bangladesh Bureau of Statistics.
  3. ↑ "Bangladesh". World Bank.
  4. ↑ "National Web Portal of Bangladesh". Bangladesh Government. 15 กันยายน 2558.
ข้อตกลงในการใช้ บริการทำวีซ่า กับ NYC Visa&Translation Service ทางบริษัท NYC Visa&Translation Service ขอแจ้งข้อตกลงการใช้ บริการทำวีซ่า ของ NYC Visa&Translation Service กับลูกค้าทุกท่าน เพื่อให้การตกลงซื้อขายบริการใด ๆ จาก
บริษัทฯ เป็นไปโดยสมบูรณ์ กรุณาดำเนินการดังต่อไปนี้ 


  • เตรียมเอกสารประกอบการยื่นวีซ่า ให้ครบถ้วนตามที่พนักงานแจ้งให้ท่านทราบ 
  • ระยะเวลาการยื่นวีซ่า จะเริ่มนับจากทางบริษัทได้รับเอกสารจากลูกค้าครบถ้วน
  • หากมีการปลอมแปลงเอกสารใดๆ หรือ บิดเบือนข้อความในเอกสาร ทางบริษัทขอสงวนสิทธิ์ไม่รับผิดชอบทุกกรณี
  • หากลูกค้าไม่ผ่านพิจารณาวีซ่าจากสถานทูต ทางบริษัทขอสงวนสิทธิ์ไม่รับผิดชอบทุกกรณี เนื่องจากการพิจารณาเป็นดุลยพินิจของสถานทูตเป็นที่สิ้นสุด
  • โปรดตรวจสอบ อายุการใช้งานของหนังสือเดินทาง ( Passport) ของผู้โดยสาร และผู้ร่วมเดินทางทุกท่าน ว่าจะต้องคงมีอายุเหลือ ณ วันเดินทาง มากกว่า 6 เดือน ขึ้นไป
  • กรณีที่ ท่านไม่ได้ทำการทักท้วงใด ๆ ในลักษณะลายลักษณ์อักษร บริษัทฯ ถือว่าท่านได้รับทราบเงื่อนไขและข้อกำหนดทั้งหมด ของบริษัทฯ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยหากเกิดความเสียหายใดๆ บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิ์ไม่รับผิดชอบทุกกรณี
  • หากท่านมีข้อสงสัยใดๆ กรุณาสอบถามพนักงาน " แผนกกรุ๊ปเหมา และ วีซ่า ที่ท่านติดต่อได้ตลอดเวลาทำการของบริษัทฯ 
  •  ระหว่างเวลา 09:00 - 18.00 น ในวันจันทร์ - ศุกร์  ได้ทางโทรศัพท์ 083-2494999
  •  การดำเนินการขอวีซ่า Visa บริษัทมีหน้าที่ดูแลเอกสาร และดำเนินการเกี่ยวกับยื่นเอกสารให้กับสถานทูตเพื่อพิจารณาวีซ่า Visa แต่ผลการพิจารณาวีซ่า Visa ขึ้นอยู่กับสถานทูตของแต่ละประเทศเท่านั้น
  •  กรณีลูกค้าที่ดำเนินการยื่นวีซ่า  Visa แล้ว แต่หากสถานทูตปฏิเสธวีซ่าลูกค้า (วีซ่าไม่ผ่าน) ลูกค้าจะต้องชำระค่าธรรมเนียมของสถานทูตเองในครั้งต่อไปเอง เนื่องจากการพิจารณาให้วีซ่านั้น เป็นดุลยพินิจของสถานทูต
  • กรณีลูกค้าชำระค่าธรรมเนียม และ ค่าบริการยื่นวีซ่า แล้ว จะไม่สามารถขอคืนเงินจากบริษัทไม่ว่ากรณีใด ๆ
​
รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าทำงานประเทศบังกลาเทศ, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่านักเรียนประเทศบังกลาเทศ, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าคู่มั่นประเทศบังกลาเทศ, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าแต่งงานประเทศบังกลาเทศ, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าถาวรประเทศบังกลาเทศ, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าติดตามประเทศบังกลาเทศ, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าธุรกิจประเทศบังกลาเทศ, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าดูงานประเทศบังกลาเทศ, ​รับยื่นวีซ่าท่องเที่ยวประเทศบังกลาเทศ, รับยื่นวีซ่าทำงานประเทศบังกลาเทศ, รับยื่นวีซ่านักเรียนประเทศบังกลาเทศ, รับยื่นวีซ่าคู่มั่นประเทศบังกลาเทศ, รับยื่นวีซ่าแต่งงานประเทศบังกลาเทศ, รับยื่นวีซ่าถาวรประเทศบังกลาเทศ, รับยื่นวีซ่าติดตามประเทศบังกลาเทศ, รับยื่นวีซ่าธุรกิจประเทศบังกลาเทศ, รับยื่นวีซ่าดูงานประเทศบังกลาเทศ, รับทำวีซ่าท่องเที่ยวประเทศบังกลาเทศ, รับทำวีซ่าทำงานประเทศบังกลาเทศ, รับทำวีซ่านักเรียนประเทศบังกลาเทศ, รับทำวีซ่าคู่มั่นประเทศบังกลาเทศ, รับทำวีซ่าแต่งงานประเทศบังกลาเทศ, รับทำวีซ่าถาวรประเทศบังกลาเทศ, ให้คำปรึกษาวีซ่าแต่งงานประเทศบังกลาเทศ, ให้คำปรึกษาวีซ่าถาวรประเทศบังกลาเทศ , ให้คำปรึกษาวีซ่าติดตามประเทศบังกลาเทศ, ให้คำปรึกษาวีซ่าธุรกิจประเทศบังกลาเทศ, ให้คำปรึกษาวีซ่าดูงานประเทศบังกลาเทศ, แนะนำวีซ่าท่องเที่ยวประเทศบังกลาเทศ, แนะนำวีซ่าทำงานประเทศบังกลาเทศ, แนะนำวีซ่านักเรียนประเทศบังกลาเทศ, แนะนำวีซ่าคู่มั่นประเทศบังกลาเทศ, แนะนำวีซ่าแต่งงานประเทศบังกลาเทศ, แนะนำวีซ่าถาวรประเทศบังกลาเทศ, แนะนำวีซ่าติดตามประเทศบังกลาเทศ, แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศบังกลาเทศ, แนะนำวีซ่าดูงานประเทศบังกลาเทศ, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าท่องเที่ยวประเทศบังกลาเทศ, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าทำงานประเทศบังกลาเทศ, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่านักเรียนประเทศบังกลาเทศ, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าคู่มั่นประเทศบังกลาเทศ, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าแต่งงานประเทศบังกลาเทศ, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าถาวรประเทศบังกลาเทศ, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าติดตามประเทศบังกลาเทศ, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าธุรกิจประเทศบังกลาเทศ, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าดูงานประเทศบังกลาเทศ, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าท่องเที่ยวประเทศบังกลาเทศ,  รับทำวีซ่าติดตามประเทศบังกลาเทศ, รับทำวีซ่าธุรกิจประเทศบังกลาเทศ, รับทำวีซ่าดูงานประเทศบังกลาเทศ, รับปรึกษาวีซ่าท่องเที่ยวประเทศบังกลาเทศ, รับปรึกษาวีซ่าทำงานประเทศบังกลาเทศ, รับปรึกษาวีซ่านักเรียนประเทศบังกลาเทศ, รับปรึกษาวีซ่าคู่มั่นประเทศบังกลาเทศ, รับปรึกษาวีซ่าแต่งงานประเทศบังกลาเทศ, รับปรึกษาวีซ่าถาวรประเทศบังกลาเทศ, รับปรึกษาวีซ่าติดตามประเทศบังกลาเทศ, รับปรึกษาวีซ่าธุรกิจประเทศบังกลาเทศ, รับปรึกษาวีซ่าดูงานประเทศบังกลาเทศ, ให้คำปรึกษาวีซ่าท่องเที่ยวประเทศบังกลาเทศ, ให้คำปรึกษาวีซ่าทำงานประเทบังกลาเทศ, ให้คำปรึกษาวีซ่านักเรียนประเทศบังกลาเทศ, ให้คำปรึกษาวีซ่าคู่มั่นประเทศบังกลาเทศ, ​รับยื่นวีซ่าท่องเที่ยวประเทศบังกลาเทศ, รับยื่นวีซ่าทำงานประเทศบังกลาเทศ, รับยื่นวีซ่านักเรียนประเทศบังกลาเทศ, รับยื่นวีซ่าคู่มั่นประเทศบังกลาเทศ, รับยื่นวีซ่าแต่งงานประเทศบังกลาเทศ, รับยื่นวีซ่าถาวรประเทศบังกลาเทศ, รับยื่นวีซ่าติดตามประเทศบังกลาเทศ, รับยื่นวีซ่าธุรกิจประเทศบังกลาเทศ, รับยื่นวีซ่าดูงานประเทศบังกลาเทศ, รับทำวีซ่าท่องเที่ยวประเทศบังกลาเทศ, รับทำวีซ่าทำงานประเทศบังกลาเทศ, รับทำวีซ่านักเรียนประเทศบังกลาเทศ, รับทำวีซ่าคู่มั่นประเทศบังกลาเทศ, รับทำวีซ่าแต่งงานประเทศบังกลาเทศ, รับทำวีซ่าถาวรประเทศบังกลาเทศ, รับทำวีซ่าติดตามประเทศบังกลาเทศ, รับทำวีซ่าธุรกิจประเทศบังกลาเทศ, รับทำวีซ่าดูงานประเทศบังกลาเทศ, รับปรึกษาวีซ่าท่องเที่ยวประเทศบังกลาเทศ, รับปรึกษาวีซ่าทำงานประเทศบังกลาเทศ, รับปรึกษาวีซ่านักเรียนประเทศบังกลาเทศ, รับปรึกษาวีซ่าคู่มั่นประเทศบังกลาเทศ, รับปรึกษาวีซ่าแต่งงานประเทศบังกลาเทศ, รับปรึกษาวีซ่าถาวรประเทศบังกลาเทศ, รับปรึกษาวีซ่าติดตามประเทศบังกลาเทศ, รับปรึกษาวีซ่าธุรกิจประเทศบังกลาเทศ, รับปรึกษาวีซ่าดูงานประเทศบังกลาเทศ, ให้คำปรึกษาวีซ่าท่องเที่ยวประเทศบังกลาเทศ, ให้คำปรึกษาวีซ่าทำงานประเทศบังกลาเทศ, ให้คำปรึกษาวีซ่านักเรียนประเทศบังกลาเทศ, ให้คำปรึกษาวีซ่าคู่มั่นประเทศบังกลาเทศ, ให้คำปรึกษาวีซ่าแต่งงานประเทศบังกลาเทศ, ให้คำปรึกษาวีซ่าถาวรประเทศบังกลาเทศ , ให้คำปรึกษาวีซ่าติดตามประเทศบังกลาเทศ, ให้คำปรึกษาวีซ่าธุรกิจประเทศบังกลาเทศ, ให้คำปรึกษาวีซ่าดูงานประเทศบังกลาเทศ, แนะนำวีซ่าท่องเที่ยวประเทศบังกลาเทศ, แนะนำวีซ่าทำงานประเทศบังกลาเทศ, แนะนำวีซ่านักเรียนประเทศบังกลาเทศ, แนะนำวีซ่าคู่มั่นประเทศบังกลาเทศ, แนะนำวีซ่าแต่งงานประเทศบังกลาเทศ, แนะนำวีซ่าถาวรประเทศบังกลาเทศ, แนะนำวีซ่าติดตามประเทศบังกลาเทศ, แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศบังกลาเทศ, แนะนำวีซ่าดูงานประเทศบังกลาเทศ, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าท่องเที่ยวประเทศบังกลาเทศ, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าทำงานประเทศบังกลาเทศ, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่านักเรียนประเทศบังกลาเทศ, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าคู่มั่นประเทศบังกลาเทศ, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าแต่งงานประเทศบังกลาเทศ, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าถาวรประเทศบังกลาเทศ, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าติดตามประเทศบังกลาเทศ, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าธุรกิจประเทศบังกลาเทศ, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าดูงานประเทศบังกลาเทศ, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าท่องเที่ยวประเทศบังกลาเทศ, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าทำงานประเทศบังกลาเทศ, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่านักเรียนประเทศบังกลาเทศ, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าคู่มั่นประเทศบังกลาเทศ, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าแต่งงานประเทศบังกลาเทศ, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าถาวรประเทศบังกลาเทศ, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าติดตามประเทศบังกลาเทศ, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าธุรกิจประเทศบังกลาเทศ, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าดูงานประเทศบังกลาเทศ​​, ​​ติดต่อขอใช้บริการ สาขาในกรุงเทพมหานคร แขวงขุมทอง แขวงจตุจักร แขวงจอมพล แขวงจันทรเกษม แขวงลาดยาว แขวงเสนานิคม เขตจอมทอง แขวงจอมทอง แขวงบางขุนเทียน แขวงบางค้อ แขวงบางมด เขตดอนเมือง แขวงสีกัน เขตดินแดง แขวงดินแดง เขตดุสิต แขวงดุสิต แขวงถนนนครไชยศรี แขวงวชิรพยาบาล แขวงสวนจิตรลดา แขวงสี่แยกมหานาค เขตตลิ่งชัน แขวงคลองชักพระ แขวงฉิมพลี แขวงตลิ่งชัน แขวงบางเชือกหนัง แขวงบางพรม แขวงบางระมาด แขวงทวีวัฒนา แขวงศาลาธรรมสพน์ เขตทุ่งครุ แขวงทุ่งครุ แขวงบางมด เขตธนบุรี แขวงดาวคะนอง แขวงตลาดพลู แขวงบางยี่เรือ แขวงบุคคโล แขวงวัดกัลยาณ์บูรณะ แขวงบางปะกอก แขวงราษฎร์บูรณะ เขตลาดกระบังแขวงยานนาวา เขตสายไหม แขวงคลองถนน แขวงสายไหม แขวงออเงิน เขตหนองแขม แขวงหนองแขม แขวงหนองค้างพลู เขตหนองจอก แขวงกระทุ่มราย แขวงคลองสิบ แขวงคลองสิบสอง แขวงคู้ฝั่งเหนือ แขวงโคกแฝด แขวงลำต้อยติ่ง แขวงลำผักชี แขวงหนองจอก เขตหลักสี่ แขวงตลาดบางเขน แขวงทุ่งสองห้อง เขตห้วยขวาง แขวงบางกะปิ แขวงสามเสนนอก แขวงสำเหร่ แขวงหิรัญรูจี เขตบางเขน แขวงท่าแร้ง แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางแค แขวงบางแค แขวงบางแคเหนือ แขวงบางไผ่ แขวงหลักสอง เขตบางกอกใหญ่ แขวงวัดท่าพระ แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกน้อย แขวงบางขุนนนท์ แขวงบางขุนศรี แขวงบ้านช่างหล่อ แขวงศิริราช แขวงอรุณอมรินทร์ เขตบางกะปิ แขวงคลองจั่น แขวงหัวหมาก เขตบางขุนเทียน แขวงท่าข้าม แขวงแสมดำ เขตบางคอแหลม แขวงบางโคล่ แขวงบางคอแหลม แขวงวัดพระยาไกร เขตบางซื่อ แขวงบางซื่อ เขตบางนา แขวงบางนา เขตบางบอน แขวงบางบอน เขตบางพลัด แขวงบางบำหรุ แขวงบางพลัด แขวงบางยี่ขัน แขวงบางอ้อ เขตบางรัก แขวงบางรัก แขวงมหาพฤฒาราม แขวงสี่พระยา แขวงสีลม แขวงสุริยวงศ์ เขตบึงกุ่ม แขวงคลองกุ่ม เขตปทุมวัน แขวงปทุมวัน แขวงรองเมือง แขวงลุมพินี แขวงวังใหม่ เขตประเวศ แขวงดอกไม้ แขวงประเวศ แขวงหนองบอน เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย แขวงคลองมหานาค แขวงบ้านบาตร แขวงป้อมปราบ แขวงวัดเทพศิรินทร์ แขวงวัดโสมนัส เขตพญาไท แขวงสามเสนใน เขตพระโขนง แขวงบางจาก เขตพระนคร แขวงชนะสงคราม แขวงตลาดยอดแขวงคลองสองต้นนุ่น แขวงคลองสามประเวศ แขวงทับยาว แขวงลาดกระบัง แขวงลำปลาทิว เขตลาดพร้าว แขวงจรเข้บัว แขวงลาดพร้าว เขตวังทองหลาง แขวงวังทองหลาง เขตวัฒนา แขวงคลองเตยเหนือ แขวงคลองตันเหนือ แขวงพระโขนงเหนือ เขตสวนหลวง แขวงสวนหลวง เขตสะพานสูง แขวงสะพานสูง เขตสัมพันธวงศ์ แขวงจักรวรรดิ แขวงตลาดน้อย แขวงสัมพันธวงศ์ เขตสาทร แขวงทุ่งมหาเมฆ แขวงทุ่งวัดดอน แถว เขตคลองเตย แขวงคลองเตย แขวงคลองตัน แขวงพระโขนง เขตคลองสาน แขวงคลองต้นไทร แขวงคลองสาน แขวงบางลำพูล่าง แขวงสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสามวา แขวงทรายกองดิน แขวงทรายกองดินใต้ แขวงบางชัน แขวงสามวาตะวันตก แขวงสามวาตะวันออก  เขตคันนายาว แขวงคันนายาว เขตจตุจักร  แขวงบวรนิเวศ แขวงบางขุนพรหม แขวงบ้านพานถม แขวงพระบรมมหาราชวัง แขวงวังบูรพาภิรมย์ แขวงวัดราชบพิธ แขวงวัดสามพระยา แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ แขวงสำราญราษฎร์ แขวงเสาชิงช้า เขตภาษีเจริญ แขวงคลองขวาง แขวงคูหาสวรรค์ แขวงบางจาก แขวงบางด้วน แขวงบางแวก แขวงบางหว้า แขวงปากคลองภาษีเจริญ เขตมีนบุรี แขวงมีนบุรี แขวงแสนแสบ เขตยานนาวา แขวงช่องนนทรี แขวงบางโพงพาง เขตราชเทวี แขวงถนนเพชรบุรี แขวงถนนพญาไท แขวงทุ่งพญาไท แขวงมักกะสัน เขตราษฎร์ แขวงห้วยขวาง สาขาในจังหวัดอ่างทอง โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดนครราชสีมา โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดบึงกาฬ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดบุรีรัมย์ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168,สาขาในจังหวัดพัทลุง โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดภูเก็ต โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดระนอง โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสตูล โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสงขลา โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสุราษฎร์ธานี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดฉะเชิงเทรา โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดชลบุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดตราด โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดปราบังกลาเทศบุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดระยอง โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสระแก้ว โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดกาญจนบุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดอุบลราชธานี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดอำนาจเจริญ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดกำแพงเพชร โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดอุทัยธานี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168,สาขาในจังหวัดสมุทรสาคร โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสิงห์บุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสกลนคร โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสุรินทร์ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดศรีสะเกษ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดหนองคาย โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดแม่ฮ่องสอน โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดนครนายก โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดนครปฐม โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดนครสวรรค์ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดเชียงราย โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดเชียงใหม่ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดน่าน โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดพะเยา โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดลำปาง โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดลำพูน โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดอุตรดิตถ์ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดกาฬสินธุ์ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดขอนแก่น โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดตาก โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168,สาขาในจังหวัดมหาสารคาม โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดแพร่ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168,  สาขาในจังหวัดสมุทรสงคราม โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดยะลา โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดนนทบุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดปทุมธานี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดพิจิตร โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดชุมพร โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดตรัง โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดนครศรีธรรมราช โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดนราธิวาส โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดปัตตานี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดพังงา โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168,สาขาในจังหวัดร้อยเอ็ด โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดเลย โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดนครพนม โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดชัยนาท โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดพิษณุโลก โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดเพชรบูรณ์ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดลพบุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสมุทรปราการ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168,สาขาในจังหวัดหนองบัวลำภู โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดอุดรธานี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดมุกดาหาร โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดยโสธร โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดชัยภูมิ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168,  สาขาในจังหวัดจันทบุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168,สาขาในจังหวัดสุโขทัย โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสุพรรณบุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสระบุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดเพชรบุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดราชบุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดกระบี่ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, 
 
 
 
 
 
Picture
Picture
บริการแปลเอกสาร 300 ภาษา ทั่วโลก ศูนย์การแปลภาษา NYC Translation หนึ่งในบริษัทชั้นนำในประเทศไทย ผู้ให้บริการด้านการแปลเอกสาร ประเภททั่วไปด้านต่างๆ อาทิ เว็บไซต์ สิ่งพิมพ์และโบรชัวร์ บทความต่างๆ คู่มือ รายงานการประชุม จดหมายส่วนตัว และอื่นๆ รวมถึงเอกสารเฉพาะทางที่มีเนื้อหาสำคัญต่างๆ ได้แก่ สัญญากฎหมาย คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี วิศวกรรม การแพทย์ ปิโตรเคมี ปฐพีวิทยา และสาขาเฉพาะด้านอื่นๆ ด้วยทีมงานคณาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ และนักแปลที่เปี่ยมไปด้วยความรู้ความสามารถและประสบการณ์ ในหลากหลายสาขา​
Picture
​บริการรับรองเอกสารโดยกงสุลไทย เอกสารสำคัญที่จะนำไปใช้อ้างอิง ในต่างประเทศ จะต้องผ่านการรับรอง จากกระทรวงการต่างประเทศเสมอ จึงจะได้รับการยอมรับว่าเป็นเอกสารที่ชอบด้วยกฏหมาย ในขณะที่เอกสารที่ทำในต่างประเทศ หรือออกให้โดยทางการต่างประเทศ จะต้องผ่านการรับรองจากสถานทูต หรือสถานกงสุลไทยในประเทศนั้น หรือสถานทูตประเทศนั้น ๆ ในประเทศไทยก่อนแล้วจึงนำมาแปลเอกสาร เป็นภาษาไทย จากนั้นนำไปให้กระทรวงการต่างประเทศรับรอง ทางการไทยจึงจะยอมรับ​
Picture
บริการรับยื่นวีซ่า 190 ประเทศทั่วโลก NYC Visa Service มีประสบการณ์ในการทำวีซ่ามาเป็นเวลามากกว่ากว่าสิบปี โดยมีผู้เชี่ยวชาญ คอยให้บริการคำปรึกษาท่านตลอดเวลาไม่ว่าจะเป็น วีซ่าท่องเที่ยว, วีซ่าเยี่ยมญาติ/ เพื่อน, วีซ่านักเรียน นอกจากนี้ยังมีบริการแปล, แปลเอกสารต่างๆทุกประเภท นอกจากนี้เรามีบริการให้คำปรึกษา ในการยื่นขอวีซ่า วิเคราะห์ปัญหาของผู้ต้องการยื่นวีซ่า ประเมินโอกาส ในการยื่นขอวีซ่าของท่านให้มีการดำเนินการอย่างถูกต้อง และเพื่อให้มีความสอดคล้องกับสถานการณ์ ของผู้ขอยื่นวีซ่า และเพื่อให้ลูกค้าทุกท่านที่เข้ามาใช้บริการเราได้รับความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น 
Picture
บริการทนาย Notary Public หรือ Notarial services Attorney ในต่างประเทศหมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้ง จากทางราชการของประเทศนั้นๆ ตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนดไว้ มีหน้าที่ในการจัดทำสัญญา รับรองลายมือชื่อในเอกสาร ลงชื่อในฐานะเป็นพยานใน เอกสาร รับรองเอกสารนั้นๆ ว่าเป็นเอกสารที่ถูกต้องแท้จริงจากต้นฉบับ ให้ทำคำสาบาน หรือทำหน้าที่อื่นๆ ตามที่กฎหมายให้อำนาจไว้ และตามหลักปฏิบัติของประเทศนั้นๆ ส่วนมากเอกสารเหล่านั้นจะนำไปใช้ในต่างปรเทศ หรือสถานฑูลประจำประเทศไทย  
Picture
บริการแปลและรับรอง NAATI รับรองเอกสาร National Accreditation Authority for Translators and Interpreters Ltd. หรือ Naati คือการรับรองเอกสารรูปแบบหนึ่ง ที่จะนิยมแปลและรับรองกันเพื่อนำไปใช้ที่ประเทศออสเตรเลีย โดยองค์กร Naati ของประเทศออสเตรเลีย จะจัดสอบเพื่อออก license ให้ผู้แปล ในประเทศต่างๆ  รวมถึงประเทศไทยด้วย ชมรายละเอียดของการแปลและรับรองเอกสาร Naati เพิ่มเติมได้ที่ http://www.naati.com.au
Picture
​บริการแนะแนวศึกษาต่อต่างประเทศ NYC Education Center สถาบันแนะแนวการศึกษาต่อต่างประเทศ ที่ได้รับความไว้วางใจ และความร่วมมือจากสถาบันภาษา โรงเรียน และมหาวิทยาลัย ในต่างประเทศ อาทิเช่น ประเทศ อังกฤษ ออสเตรเลีย แคนาดา นิวซีแลนด์ อเมริกา ในการนำหลักสูตรเรียนภาษาอังกฤษ และหลักสูตรอื่น ๆ ที่มีประโยชน์ มาเผยแพร่ให้กับนักเรียน นักศึกษาไทยเพื่อเป็นทางเลือกในการพัฒนาภาษาอังกฤษ ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และใช้ภาษาอังกฤษ อย่างถูกต้องได้ผลจริง นอกจากการแนะแนวหลักสูตรเรียนต่อต่างประเทศแล้วทาง​
Picture
NYC THAI VISA SOLUTIONS Our company has been providing Visa and Interpreter services in Thailand over 12 years. We can help you quickly obtain the necessary Visas: ED Visa, Retirement Visa, Marriage Visa, Work Permit, Non-Immigrant B, Non-Immigrant O, to stay legally and comfortably in Thailand with our professional and reliable service.
Picture
WORK PERMIT SERVICE Non-Immigrant Visa "B" -- To Work in Thailand To legally work in Thailand, a foreigner must apply for a work permit. Work permit is a legal document that states a foreigner’s position, current occupation, or job description and the Thai company he is working with. It also serves as a license to perform a job or an occupation allowed for foreigners inside Thailand.​
Picture
NYC Interpreting Team has over 12 years of experience providing the finest accredited language interpreters in cities all over Thailand. We employ experienced interpreters and translators with proven background. The quality of our personnel and our commitment to excellence ensures that your conference, meeting or business talk will be a 100% success.
Picture
สถาบันสอนภาษาเอ็นวายซี ระบบการเรียนรูปแบบใหม่ All New NYC Learning System สิ่งที่ผู้เรียนจะได้รับ เนื้อหาและรูปแบบการเรียนการสอนที่ได้รับการพัฒนาทั้งระบบ ทั้ง 6 ทักษะ ได้แก่ การพูด การฟัง การอ่าน การเขียน แกรมม่าและคำศัพท์ที่ได้ผลมากกว่าเดิม เป็นระบบการเรียนการสอนเดียวที่สามารถทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ครบทุกทักษะ
​​
Picture
​บริการขอใบตรวจสอบประวัติอาชญากรรม (CID) รับตรวจสอบประวัติอาชญากร ประวัติทางคดีอาญา คดีแพ่ง ใบอนุญาตขับรถ ใบอนุญาตรถขนส่ง ใบสั่ง ทะเบียนรถยนต์ ทะเบียนรถขนส่ง บุคคลพ้นโทษ รถหาย ทรัพย์หาย อุบัติเหตุจราจร เหมาะกับ คู่สมรสที่จะจดทะเบียน การร่วมลงทุนประกอบธุรกิจ บุคคลที่จะเดินทางไปต่างประเทศจะต้องผ่าน ตม. การยื่นขอวีซ่า การขอหนังสือเดินทาง หรือการรับพนักงาน ลูกจ้าง เพื่อความมั่นใจและปลอดภัยในการประกอบกิจการ หรือนิติบุคคล
Picture
ขั้นตอนการจดทะเบียนสมรสกับชาวลาว เอกสารที่จะต้องเตรียมสำหรับบุคคลสัญชาติไทย ที่ประสงค์จะแต่งงานกับชาวลาว I. เอกสารของฝ่ายไทย (ฝ่ายคนไทยต้องเตรียมเอกสารข้อ 1-5 ตามด้านล่างนี้ก่อน)1. หนังสือรับรองความเป็นโสด หรือใบหย่าจากอำเภอ 2. หนังสือรับรองประวัติอาชญากรรม จากสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (อาคาร 24) เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 3. ใบรับรองแพทย์ (ออกให้โดยโรงพยาบาลและมีตราประทับรับรอง) 4. สำเนาทะเบียนบ้าน บัตรประจำตัวประชาชน และหนังสือเดินทาง ฯลฯ

Line Official ID : @NYC168

เพิ่มเพื่อน
Picture