บริษัท NYC Visa&Translation Service Company Limited 0832494999
บริษัท เอ็น วาย ซี วีซ่า เซอร์วิส จำกัด (NYC Visa Service Co., Ltd.) และ 
​บริษัท เอ็น วาย ซี ทรานสเลชั่น จำกัด (NYC Translation Co., Ltd.)                         
รับ
ยื่นวีซ่า   190   ประเทศทั่วโลก    บริการแปลเอกสาร   300   ภาษาทั่วโลก 
รับรองเอกสารโดยกระทรวงต่างประเทศ หรือกรมการกงสุลของประเทศไทย 
บริการนำเอกสารไปรับรองที่สถานทูต    บริการทนาย   NOTARY   PUBLIC 
บริการแปล และรับรองโดย NAATI ( National  Accreditation  Authority
​for  Translators  and  Interpreters Ltd. )  
บริการขอใบตรวจสอบประวัติ
​อาชญากรรม ​
บริการจดทะเบียนสมรสกับสัญชาติลาว 

​แผนกวีซ่า Call Center : 086-4549122 Line Official ID : @NYCV

แผนกแปล Call Center : 083-2494999 Line Official ID : @NYC168
​
  • Home
  • ติดต่อสาขา
  • ลูกค้าของเรา
  • รับยื่นวีซ่าทั่วโลก
  • ศึกษาต่อต่างประเทศ
  • Apec Card
  • บริการ Work Permit
  • Thai Visa Service
  • บริการตรวจสอบประวัติอาชญากรรม
  • บริการจดทะเบียนสมรสกับชาวลาว
  • Online Translation Service
  • Blog
  • รับแปลเอกสาร 300 ภาษา
  • รับรองเอกสารกงสุล
  • Notary Public
  • NAATI
  • Company Profile
Picture
บริการให้คำปรึกษารับยื่นวีซ่าประเทศพม่า
Myanmar Visa Service in Thailand

​​
การเดินทางเข้าประเทศพม่าของท่านจะง่ายมากยิ่งขึ้นเมื่อวีซ่าเสร็จสมบูรณ์และทันเวลา  เราจึงของเป็นตัวแทนของท่านในการจัดการเรื่องการยื่นขอวีซ่ากับทางสถานทูตพม่า วีซ่าการเข้าพม่านั้นก็มีหลายแบบตามแต่วัตถุประสงค์ของผู้ที่เดินทาง อัตราค่าบริการก็ต่างกันไปสมเหตุสมผล ทางเราทำงานด้วยความตั้งใจเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความผิดพลาดในการเดินทางของท่าน เอกสารสำคัญต่างๆที่ต้องใช้ทางเราจะจัดการแนะนำให้คุณเตรียมให้พร้อม

สำหรับเรื่องการกรอกรายละเอียดวีซ่าพม่าที่มีความซับซ้อนเราจะตรวจสอบอย่างละเอียดก่อนการส่งยื่น สำหรับระยะเวลาในการพำนักในประเทศพม่านั้นก็ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของผู้เดินทางเช่นหากไปเพื่อการศึกษาจะได้พำนักอยู่นานกว่าประเภทอื่นๆ และแม้ว่าพม่าจะเปิดประเทศแล้วแต่ก็ต้องระวังการของการนำของเข้าประเทศด้วย ความสะดวกจะอยู่ที่คุณสามารถเอาเวลาตรงนี้ไปเตรียมการเดินทางอื่นๆให้พร้อม และทางสถานทูตนั้นก็มีวันเวลาในการเปิด-ปิด หากไปไม่ถูกเวลาคุณจะเสียเวลาเปล่าๆฉะนั้นเมื่อคุณหันมาใช้บริการรับทำวีซ่ากับเรา เราสามารถดำเนินการให้คุณจนเสร็จสิ้น

การทำวีซ่าขอเข้าประเทศพม่านั้นท่านสามารถไปยื่นเองได้แต่ก็ต้องมีขั้นตอนหลายๆอย่างและต้องใช้เวลามากพอสมควร ทางเราเป็นบริษัทรับทำวีซ่าพม่าขอตัวแทนท่านในการตรวจเช็คเอกสารการเดินทางและดำเนินการขอวิซ่าพม่ากับทางสถานทูตพม่า เพื่อความสะดวกสบายของท่านไม่ต้องยุ่งยากไปทำเรื่องเองและกรอกเอกสารที่ยุ่งยาก ด้วยทีมงานที่มีคุณภาพจึงสามารถดำเนินการได้อย่างมั่นใจ รวดเร็ว อย่างมืออาชีพ 

สำหรับค่าใช้จ่ายในการทำวีซ่านั้นก็ขึ้นอยู่กับประเภทของวีซ่าพม่าที่ท่านต้องการ เรารับทำวีซ่าพม่าเพื่ออำนวยความสะดวกแก่ท่านเพื่อการเดินทางของท่านจะราบรื่น ท่านจะได้รับวีซ่าเข้าประเทศพม่าอย่างแน่นอน เพียงแค่มีข้อแม้เล็กน้อยคือท่านไม่เป็นบุคคลต้องห้ามของทางการพม่าและไทย และมีสิทธิ์ในการเดินทางเข้าออกประเทศได้ เท่านี้การไปเยือนพม่าก็ไม่ใช่เรื่องยากสำหรับคุณ

เมื่อมองหาวิธีการทำวีซ่าหรือต้องการทำวีซ่าพม่า มาใช้บริการกับทางเราไม่มีผิดหวัง ท่านจะไม่มีปัญหาใดๆเกี่ยวกับเอกสารการเดินทางเข้าพม่า และหากมีข้อสงสัยสามารถสอบถามกับทีมงานเราได้ เราพร้อมที่จะให้คำแนะนำและมอบบริการที่แสนประทับใจกับการรับทำวีซ่าพม่าแก่ท่าน แล้วท่านจะเดินทางเข้าพม่าได้อย่างง่ายดายหายห่วง

วีซ่าท่องเที่ยวประเทศพม่า


  • เอกสารใช้ประกอบการขอวีซ่า
    • หนังสือเดินทางเล่มจริง ต้องมีอายุการใช้งานไม่น้อยกว่า 6 เดือน มีหน้าว่างอย่างน้อย 3 หน้า พร้อมพาสปอร์ตเล่มเก่า (ถ้ามี)
    • รูปถ่ายสีขนาด 2 นิ้ว 2 รูป อายุไม่เกิน 6 เดือน พื้นหลังสีขาวเท่านั้น
    • ฟอร์มวีซ่ากรอกข้อมูลครบถ้วนและเซ็นต์ชื่อ 1 ชุด
  • ข้อมูลเพิ่มเติม
    • เวลาทำการสถานทูต จันทร์-ศุกร์ 08:30-16:00 น. โทรศัพท์: 0 2234 0278, 0 2637 9403 แฟกซ์ : 0 2236 6898
    • เวลายื่นวีซ่า จันทร์-ศุกร์ 08:30-11:30 น.
    • เวลารับเล่มวีซ่า จันทร์-ศุกร์ 11:00-12:00 น. และ 15:00-16:00 น
  • หมายเหตุ
    • ค่าบริการข้างต้นสำหรับผู้สมัครที่ถือพาสปอร์ตประเทศไทยเท่านั้น
    • ค่าบริการ ทั้งหมดไม่สามารถคืนเงินได้ ในกรณีที่ท่านได้รับการปฏิเสธวีซ่าจากทางสถานทูต
    • เอกสาร และเวลาที่ใช้ในการยื่นวีซ่า อาจมีการเปลี่ยนแปลงโดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้าทั้งนี้ขึ้นอยู่กับดุลพินิจของสถานทูต
    • ระยะเวลาในการยื่นขอวีซ่าไม่รวมวันที่รับเอกสาร
    • อัตรานี้ไม่รวมค่าจัดส่งทางไปรษณีย์
    • ราคาค่าบริการอาจมีการเปลี่ยนแปลงโดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า
NYC Visa Service  มีประสบการณ์ในการทำวีซ่าประเทศพม่า มาเป็นเวลามากกว่ากว่าสิบปี โดยมีผู้เชี่ยวชาญคอยให้บริการคำปรึกษาท่านตลอดเวลาไม่ว่าจะเป็นวีซ่าท่องเที่ยวประเทศพม่า วีซ่าเยี่ยมญาติประเทศพม่า วีซ่าเยี่ยมเพื่อนประเทศพม่า วีซ่านักเรียนประเทศพม่า วีซ่าถาวรประเทศพม่า วีซ่าแต่งงานประเทศพม่า วีซ่าคู่หมั้นประเทศพม่า วีซ่าย้ายถิ่นฐานประเทศพม่า วีซ่าติดตามประเทศพม่า วีซ่าทำงานประเทศพม่า วีซ่าดูงานประเทศพม่า วีซ่าฝึกงานประเทศพม่า วีซ่าธุรกิจประเทศพม่า นอกจากนี้ยังมีบริการแปลเอกสารต่างๆ ทุกประเภท นอกจากนี้เรามีบริการให้คำปรึกษาในการยื่นขอวีซ่า วิเคราะห์ปัญหาของผู้ต้องการยื่นวีซ่า ประเมินโอกาสในการยื่นขอวีซ่าของท่านให้มีการดำเนินการอย่างถูกต้องและเพื่อให้มีความสอดคล้องกับสถานการณ์ของผู้ขอยื่นวีซ่า และเพื่อให้ลูกค้าทุกท่านที่เข้ามาใช้บริการเราได้รับความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น เรายังมีบริการเป็นตัวแทนยื่นขอวีซ่าให้กับท่าน เป็นตัวแทนไปรับวีซ่าแทนท่าน และบริการจัดส่งเอกสารสำหรับท่านที่อยู่ต่างจังหวัดอีกด้วย

ยินดีต้อนรับเข้าสู่ NYC Visa Service ซึ่งเป็นเชี่ยวชาญให้บริการทางด้านรับทำวีซ่าและกฎหมายการตรวจคนเข้าเมืองโดยตรงของประเทศ
พม่า (Myanmar Visa Service in Thailand) เราเปิดให้บริการ รับปรึกษา รับยื่น รับทำ รับยื่นแก้วีซ่าไม่ผ่านทุกประเทศทั่วโลก เพื่อช่วยเหลือทุกท่านให้ได้รับวีซ่าได้ตามต้องการการ กับประเทศที่ต้องการจะเดินทาง จน NYC Visa Service ได้รับความสำเร็จอย่างสูงในการได้รับอนุมัติวีซ่าของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก          เนื่องจากทางเรามีบริการหลากหลายรูปแบบไว้อำนวยความสะดวกแก่ท่าน มีทีมงานมืออาชีพ เราเปิดให้บริการมายาวนานมากกว่า12 ปี และมีศูนย์บริการอยู่ทั่วประเทศมากถึง 12 ศูนย์ และยังมีการขยายงานเปิดศูนย์เพิ่มเติมทั่วประเทศเพื่อเข้าถึงกลุ่มลูกค้าที่ต้องการใช้บริการ เราเป็นตัวกลางในการยื่นของวีซ่ากับสถานทูตแต่ล่ะประเทศ สำหรับทุกท่านที่พบปัญหา เพื่อช่วยให้ท่านเข้าใจรูปแบบปัญหาที่จะเกิดขึ้นทั้งหมด จึงทำให้ท่านประหยัดเวลา รวมไปถึงความแน่นอนในการได้รับวีซ่า            

จากการที่ NYC Visa Service  มีความชำนาญในเรื่องกฎหมายตรวจคนเข้าเมืองของประเทศพม่า (Myanmar Visa Service in Thailand) จึงทำให้ได้รับการอนุมัติวีซ่าเร็วและง่ายขึ้น จึงพร้อมดำเนินการให้แก่ท่าน ตั้งแต่จัดเตรียมเอกสาร ประเมินแนะนำขั้นตอน  พร้อมแก้ปัญหาที่จะเกิด การเตรียมตัว รวมไปถึงดูแลยื่นเอกสารที่สถานทูตในแต่ล่ะประเทศ  ถ้าคุณเป็นคนหนึ่งที่อยากเดินทางไปต่างประเทศ ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใด ๆ และไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นอย่างไร เราสามารถให้คำปรึกษา และบริการยื่นวีซ่าให้คุณได้  
           

NYC Visa Service เป็นบริษัทที่รับทำวีซ่าทุกประเภท อาทิ เชงเก้นวีซ่า (Schengen visa), วีซ่าประเทศอเมริกา วีซ่าประเทศอังกฤษ วีซ่าประเทศออสเตรเลีย วีซ่าประเทศฝรั่งเศส วีซ่าประเทศสวีเดน วีซ่าประเทศเยอรมัน  วีซ่าประเทศอิตาลี  วีซ่าประเทศนิวซีแลนด์ วีซ่าประเทศนอร์เวย์ วีซ่าประเทศฟินแลนด์ วีซ่าประเทศออสเตรีย วีซ่าสเปน วีซ่าประเทศเดนมาร์ วีซ่าประเทศเนเธอร์แลนด์ วีซ่าประเทศโปแลนด์ วีซ่าประเทศฟินแลนด์ รับยื่นวีซ่าประเทศนอร์เวย์ รับยื่นวีซ่าประเทศเบลเยียม รับยื่นวีซ่าประเทศโปรตุเกส  รับยื่นวีซ่าประเทศกรีซ รับยื่นวีซ่าประเทศโครเอเชีย รับยื่นวีซ่าประเทศเช็ก รับยื่นวีซ่าประเทศฟินแลนด์ รับยื่นวีซ่าประเทศมอลโดวา รับยื่นวีซ่าประเทศมอลตา รับยื่นวีซ่าประเทศมาซิโดเนีย รับยื่นวีซ่าประเทศยูเครน รับยื่นวีซ่าประเทศรัสเซีย ​รับยื่นวีซ่าประเทศโรมาเนีย รับยื่นวีซ่าประเทศลักเซมเบิร์กรับยื่นวีซ่าประเทศลัตเวีย รับยื่นวีซ่าประเทศลิทัวเนีย รับยื่นวีซ่าประเทศสวิตเซอร์แลนด์ รับยื่นวีซ่าประเทศสวีเดน รับยื่นวีซ่าประเทศออสเตรีย รับยื่นวีซ่าประเทศอิตาลี ​รับยื่นวีซ่าประเทศไอซ์แลนด์  รับยื่นวีซ่าประเทศไอร์แลนด์ รับยื่นวีซ่าประเทศฮังการี วีซ่าพม่า (Myanmar Visa Service in Thailand)  เป็นต้น นอกจากนี้เรายังมีบริการรับแปลเอกสาร บริการรับรองเอกสารภาษาอื่น ๆ บริการประกันการเดินทาง และบริการอื่น ๆ อีกมากมาย

NYC Visa Service  มีประสบการณ์ในการทำวีซ่ามาเป็นเวลามากกว่ากว่าสิบปี โดยมีผู้เชี่ยวชาญคอยให้บริการคำปรึกษาท่านตลอดเวลาไม่ว่าจะเป็นวีซ่าท่องเที่ยว วีซ่าเยี่ยมญาติ วีซ่าเยี่ยมเพื่อน วีซ่านักเรียน วีซ่าถาวร วีซ่าแต่งงาน วีซ่าคู่หมั้น วีซ่าย้ายถิ่นฐาน วีซ่าติดตาม วีซ่าทำงาน วีซ่าดูงาน วีซ่าฝึกงาน วีซ่าธุรกิจ ประเทศ
พม่า (Myanmar Visa Service in Thailand) นอกจากนี้ยังมีบริการแปลเอกสารต่าง ๆ ทุกประเภท นอกจากนี้เรามีบริการให้คำปรึกษาในการยื่นขอวีซ่า วิเคราะห์ปัญหาของผู้ต้องการยื่นวีซ่า ประเมินโอกาสในการยื่นขอวีซ่าของท่านให้มีการดำเนินการอย่างถูกต้องและเพื่อให้มีความสอดคล้องกับสถานการณ์ของผู้ขอยื่นวีซ่า และเพื่อให้ลูกค้าทุกท่านที่เข้ามาใช้บริการเราได้รับความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น เรายังมีบริการเป็นตัวแทนยื่นขอวีซ่าให้กับท่าน เป็นตัวแทนไปรับวีซ่าแทนท่าน และบริการจัดส่งเอกสารสำหรับท่านที่อยู่ต่างจังหวัดอีกด้วย ให้ NYC Visa Service  ของเราเป็นส่วนหนึ่งในการดูแลการดำเนินการขอยื่นวีซ่าพม่า (Myanmar Visa Service in Thailand)  ​ของท่าน ทีมงานของเราจะดูแลตั้งแต่ปัญหาพื้นฐาน การจัดเตรียมเอกสาร เป็นตัวแทนเพื่อยื่นขอวีซ่าของคุณ เราจะดูแลและติดตามผลหลังการให้บริการอย่างดีที่สุด

ประเทศพม่าจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไบยังการนำทางไปยังการค้นหา
สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า
 (พม่า)

ธงชาติตราแผ่นดิน
เพลงชาติ: 
  • กะบามะเจ
  • ตราบโลกแหลกสลาย
  • MENU
    0:00



ที่ตั้งของ ประเทศพม่า  (สีเขียว)ในอาเซียน  (สีเทาเข้ม)  —  [คำอธิบายสัญลักษณ์]

เมืองหลวงเนปยีดอ
เมืองใหญ่สุดย่างกุ้ง
ภาษาราชการภาษาพม่า
ภาษาพื้นเมือง
  • กะฉิ่น
  • กะยา
  • กะเหรี่ยง
  • ฉิ่น
  • มอญ
  • ยะไข่
  • ชาน

อักษรราชการอักษรพม่า
กลุ่มชาติพันธุ์ ([1])
  • 68% พม่า
  • 9% ไทใหญ่
  • 7% กะเหรี่ยง
  • 4% ยะไข่
  • 2% มอญ
  • 10% อื่นๆ

เดมะนิมชาวพม่า
การปกครองรัฐเดี่ยว ระบบรัฐสภาสาธารณรัฐ
• ประธานาธิบดีวีน-มยิน
• ที่ปรึกษาแห่งรัฐออง ซาน ซูจี
• รองประธานาธิบดีคนที่หนึ่งมยินซเว
• รองประธานาธิบดีคนที่สองเฮนรี บาน ทียู
นิติบัญญัติรัฐสภาแห่งสหภาพ
• สภาสูงสภาแห่งชาติ
• สภาล่างสภาผู้แทนราษฎรพม่า
ประวัติศาสตร์
• อาณาจักรพุกาม23 ธันวาคม 1392 
• ราชวงศ์ตองอู16 ตุลาคม 2053 
• ราชวงศ์โกนบอง29 กุมภาพันธ์ 2295 
• สหราชอาณาจักรผนวกดินแดน29 กุมภาพันธ์ 2295 
• เอกราช4 มกราคม 2491 
• รัฐธรรมนูญฉบับใหม่30 มีนาคม 2554 
พื้นที่
• รวม676,578 ตร.กม. (39)
261,227 ตร.ไมล์ 
• แหล่งน้ำ (%)3.06
ประชากร
• 2560 (สำมะโน)53,582,855[2] (25)
• ความหนาแน่น76 คน/ตร.กม. (125)
196.8 คน/ตร.ไมล์
จีดีพี (อำนาจซื้อ)2560 (ประมาณ)
• รวม$334.856 พันล้าน[3] (53)
• ต่อหัว$6,139[3] (126)
จีดีพี (ราคาตลาด)2560 (ประมาณ)
• รวม$69,322 พันล้าน[3] (70)
• ต่อหัว$1,299[3] (152)
HDI (2560)0.578 (ปานกลาง) (145)
สกุลเงินจัต (K) (MMK)
เขตเวลาMMT (UTC+06:30)
ขับรถด้านขวามือ
รหัส ISO 3166MM
โดเมนบนสุด.mm
รหัสโทรศัพท์+95
บทความนี้มีอักษรพม่า หากไม่มีการสนับสนุนเรนเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่องหรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักษรพม่าพม่า[4] หรือ เมียนมา[5] (พม่า: မြန်မာ, [mjəmà], มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (พม่า: ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, [pjìdàuɴzṵ θàɴməda̯ mjəmà nàiɴŋàɴdɔ̀] ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง[1]
อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้[6] ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์โกนบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน ค.ศ. 1948 ช่วงต้นปกครองแบบชาติประชาธิปไตย และหลังรัฐประหารใน ค.ศ. 1962 เป็นการปกครองแบบเผด็จการทหาร แม้เผด็จการทหารสิ้นสุดลงอย่างเป็นทางการใน ค.ศ. 2011 แต่ผู้นำพรรคการเมืองส่วนใหญ่ยังเป็นอดีตนายทหาร
ประเทศพม่าอยู่ภายใต้การต่อสู้ชาติพันธุ์ที่รุนแรง กลุ่มชาติพันธุ์มากมายของพม่าเกี่ยวข้องกับสงครามกลางเมืองที่ดำเนินอยู่ยาวที่สุดสงครามหนึ่งของโลก ระหว่างช่วงนี้ สหประชาชาติและอีกหลายองค์การรายงานการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างต่อเนื่องภายในประเทศ[7][8][9] ใน ค.ศ. 2011 มีการยุบคณะทหารผู้ยึดอำนาจการปกครองอย่างเป็นทางการหลังการเลือกตั้งทั่วไป ค.ศ. 2010 และมีการตั้งรัฐบาลในนามพลเรือน แต่อดีตผู้นำทหารยังมีอำนาจภายในประเทศ กองทัพพม่าดำเนินการสละการควบคุมรัฐบาล ร่วมถึงการปล่อยตัวออง ซาน ซูจีและนักโทษทางการเมือง มีการปรับปรุงสิทธิมนุษยชนและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จนนำไปสู่การผ่อนปรนการลงโทษทางการค้าและเศรษฐกิจอื่นๆ[10][11] ทว่ายังมีการวิจารณ์การปฏิบัติต่อชนกลุ่มน้อยโรฮีนจาของรัฐบาลและการสนองต่อการปะทะกันทางศาสนา[12][13][14]
ประเทศพม่าอุดมด้วยหยก อัญมณี น้ำมัน แก๊สธรรมชาติและทรัพยากรแร่อื่นๆ ใน ค.ศ. 2013 จีดีพี (ราคาตลาด) อยู่ที่ 56,700 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และจีดีพี (อำนาจซื้อ) อยู่ที่ 221,500 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[3] ช่องว่างรายได้ของประเทศพม่ากว้างที่สุดประเทศหนึ่งในโลก เพราะเศรษฐกิจสัดส่วนใหญ่ถูกผู้สนับสนุนอดีตรัฐบาลทหารควบคุม[15][16] ใน ค.ศ. 2014 จากดัชนีการพัฒนามนุษย์ (HDI) ประเทศพม่ามีระดับการพัฒนามนุษย์ต่ำ โดยจัดอยู่อันดับที่ 148 จาก 188 ประเทศ[17]

เนื้อหา
  • 1ประวัติศาสตร์
    • 1.1มอญ
    • 1.2ปยู
    • 1.3อาณาจักรพุกาม
    • 1.4อังวะและหงสาวดี
    • 1.5ราชวงศ์ตองอู
    • 1.6ราชวงศ์โกนบอง
    • 1.7สงครามกับอังกฤษและการล่มสลายของราชอาณาจักร
    • 1.8เอกราช
    • 1.9การปกครองโดยทหาร
  • 2ภูมิศาสตร์
    • 2.1การแบ่งเขตการปกครอง
    • 2.2เมืองใหญ่สุด 10 อันดับแรก
  • 3การเมืองการปกครอง
  • 4เศรษฐกิจ
  • 5สกุลเงิน
  • 6ประชากรศาสตร์
    • 6.1เชื้อชาติ
    • 6.2ศาสนา
    • 6.3ภาษา
  • 7วัฒนธรรม
  • 8การคมนาคม
  • 9อ้างอิง
  • 10บรรณานุกรม
  • 11ดูเพิ่ม
  • 12แหล่งข้อมูลอื่น
ประวัติศาสตร์[แก้]ประวัติศาสตร์ของพม่านั้นมีความยาวนานและซับซ้อน มีประชาชนหลายเผ่าพันธุ์เคยอาศัยอยู่ในดินแดนแห่งนี้ เผ่าพันธุ์เก่าแก่ที่สุดที่ปรากฏได้แก่ชาวมอญ ต่อมาราวพุทธศตวรรษที่ 13 ชาวพม่าได้อพยพลงมาจากบริเวณพรมแดนระหว่างจีนและทิเบต เข้าสู่ที่ราบลุ่มแม่น้ำอิรวดี และได้กลายเป็นชนเผ่าส่วนใหญ่ที่ปกครองประเทศในเวลาต่อมา ความซับซ้อนของประวัติศาสตร์พม่ามิได้เกิดขึ้นจากกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในดินแดนพม่าเท่านั้น แต่เกิดจากความสัมพันธ์กับเพื่อนบ้านอันได้แก่ จีน อินเดียบังกลาเทศ ลาว และไทย มอญ[แก้]ดูบทความหลักที่: อาณาจักรมอญมนุษย์ได้เข้ามาอาศัยอยู่ในดินแดนของประเทศพม่าเมื่อราว 11,000 ปีมาแล้ว แต่กลุ่มชนแรกที่สามารถสร้างอารยธรรมเป็นเอกลักษณ์ของตนได้ในดินแดนพม่าก็คือชาวมอญ ชาวมอญได้อพยพเข้ามาอาศัยอยู่ในดินแดนแห่งนี้เมื่อราว 2,400 ปีก่อนพุทธกาล และได้สถาปนาอาณาจักรสุธรรมวดี อันเป็นอาณาจักรแห่งแรกขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ 2 ณ บริเวณใกล้เมืองท่าตอน (Thaton) ชาวมอญได้รับอิทธิพลของศาสนาพุทธผ่านทางอินเดียในราวพุทธศตวรรษที่ 2 ซึ่งเชื่อว่ามาจากการเผยแพร่พระพุทธศาสนาในรัชสมัยของพระเจ้าอโศกมหาราช บันทึกของชาวมอญส่วนใหญ่ถูกทำลายในระหว่างสงคราม วัฒนธรรมของชาวมอญเกิดขึ้นจากการผสมเอาวัฒนธรรมจากอินเดียเข้ากับวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของตนเองจนกลายเป็นวัฒนธรรมลักษณะลูกผสม ในราวพุทธศตวรรษที่ 14 ชาวมอญได้เข้าครอบครองและมีอิทธิพลในดินแดนตอนใต้ของพม่าปยู[แก้]ดูบทความหลักที่: ปยูชาวปยูเข้ามาอาศัยอยู่ในดินแดนประเทศพม่าตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 4 และได้สถาปนานครรัฐขึ้นหลายแห่ง เช่นที่ พินนาคา (Binnaka) มองกะโม้ (Mongamo) อาณาจักรศรีเกษตร (Sri Ksetra) เปียทะโนมโย (Peikthanomyo) และฮะลีนจี (Halingyi) ในช่วงเวลาดังกล่าว ดินแดนพม่าเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางการค้าระหว่างจีนกับอินเดีย จากเอกสารของจีนพบว่า มีเมืองอยู่ภายใต้อำนาจปกครองของชาวปยู 18 เมือง และชาวปยูเป็นชนเผ่าที่รักสงบ ไม่ปรากฏว่ามีสงครามเกิดขึ้นระหว่างชนเผ่าปยู ข้อขัดแย้งมักยุติด้วยการคัดเลือกตัวแทนให้เข้าประลองความสามารถกัน ชาวปยูสวมใส่เครื่องแต่งกายที่ทำจากฝ้าย อาชญากรมักถูกลงโทษด้วยการโบยหรือจำขัง เว้นแต่ได้กระทำความผิดอันร้ายแรงจึงต้องโทษประหารชีวิต ชาวปยูนับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท เด็ก ๆ ได้รับการศึกษาที่วัดตั้งแต่อายุ 7 ขวบจนถึง 20 ปี นครรัฐของชาวปยูไม่เคยรวมตัวเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน แต่นครรัฐขนาดใหญ่มักมีอิทธิพลเหนือนครรัฐขนาดเล็กซึ่งแสดงออกโดยการส่งเครื่องบรรณาการให้ นครรัฐที่มีอิทธิพลมากที่สุดได้แก่ศรีเกษตร ซึ่งมีหลักฐานเชื่อได้ว่า เป็นเมืองโบราณที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศพม่า ไม่ปรากฏหลักฐานว่าอาณาจักรศรีเกษตรถูกสถาปนาขึ้นเมื่อใด แต่มีการกล่าวถึงในพงศาวดารว่ามีการเปลี่ยนราชวงศ์เกิดขึ้นในปีพุทธศักราช 637 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าอาณาจักรศรีเกษตรต้องได้รับการสถาปนาขึ้นก่อนหน้านั้น มีความชัดเจนว่า อาณาจักรศรีเกษตรถูกละทิ้งไปในปีพุทธศักราช 1199 เพื่ออพยพย้ายขึ้นไปสถาปนาเมืองหลวงใหม่ทางตอนเหนือ แต่ยังไม่ทราบอย่างแน่ชัดว่าเมืองดังกล่าวคือเมืองใด นักประวัติศาสตร์บางท่านเชื่อว่าเมืองดังกล่าวคือเมืองฮะลีนจี อย่างไรก็ตามเมืองดังกล่าวถูกรุกรานจากอาณาจักรน่านเจ้าในราวพุทธศตวรรษที่ 15 จากนั้นก็ไม่ปรากฏหลักฐานกล่าวถึงชาวปยูอีก
อาณาจักรพุกาม[แก้]ดูบทความหลักที่: อาณาจักรพุกาม

แผนที่ทวีปเอเชียใน พ.ศ. 1743 แสดงถึงขอบเขตอาณาจักรต่าง ๆ (พุกามอยู่ใกล้กับเลขที่ 34 ทางขวา)ชาวพม่าเป็นชนเผ่าจากทางตอนเหนือที่ค่อย ๆ อพยพแทรกซึมเข้ามาสั่งสมอิทธิพลในดินแดนประเทศพม่าทีละน้อย กระทั่งปีพุทธศักราช 1392 จึงมีหลักฐานถึงอาณาจักรอันทรงอำนาจซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่เมือง "พุกาม" (Pagan) โดยได้เข้ามาแทนที่ภาวะสุญญากาศทางอำนาจภายหลังจากการเสื่อมสลายไปของอาณาจักรชาวปยู อาณาจักรของชาวพุกามแต่แรกนั้นมิได้เติบโตขึ้นอย่างเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน กระทั่งในรัชสมัยของพระเจ้าอโนรธา (พ.ศ. 1587–1620) พระองค์จึงสามารถรวบรวมแผ่นดินพม่าให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันสำเร็จ และเมื่อพระองค์ทรงตีเมืองท่าตอนของชาวมอญได้ในปีพุทธศักราช 1600 อาณาจักรพุกามก็กลายเป็นอาณาจักรที่เข้มแข็งที่สุดในดินแดนพม่า อาณาจักรพุกามมีความเข้มแข็งเพิ่มมากขึ้นในรัชสมัยของพระเจ้าจานสิตา (พ.ศ. 1624–1655) และพระเจ้าอลองสิธู (พ.ศ. 1655–1710) ทำให้ในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 17 ดินแดนในคาบสมุทรสุวรรณภูมิเกือบทั้งหมดถูกครอบครองโดยอาณาจักรเพียงสองแห่ง คืออาณาจักรเขมรและอาณาจักรพุกาม
อำนาจของอาณาจักรพุกามค่อย ๆ เสื่อมลง ด้วยเหตุผลหลักสองประการ ส่วนหนึ่งจากการถูกเข้าครอบงำโดยของคณะสงฆ์ผู้มีอำนาจ และอีกส่วนหนึ่งจากการรุกรานของจักรวรรดิมองโกลที่เข้ามาทางตอนเหนือ พระเจ้านรสีหบดี (ครองราชย์ พ.ศ. 1779–1830) ได้ทรงนำทัพสู่ยุนนานเพื่อยับยั้งการขยายอำนาจของมองโกล แต่เมื่อพระองค์แพ้สงครามที่งาซองจาน (Ngasaunggyan) ในปีพุทธศักราช 1820 ทัพของอาณาจักรพุกามก็ระส่ำระสายเกือบทั้งหมด พระเจ้านรสีหบดีถูกพระราชโอรสปลงพระชนม์ในปีพุทธศักราช 1830 กลายเป็นตัวเร่งที่ทำให้อาณาจักรมองโกลตัดสินใจรุกรานอาณาจักรพุกามในปีเดียวกันนั้น ภายหลังสงครามครั้งนี้ อาณาจักรมองโกลก็สามารถเข้าครอบครองดินแดนของอาณาจักรพุกามได้ทั้งหมด ราชวงศ์พุกามสิ้นสุดลงเมื่อมองโกลได้แต่งตั้งรัฐบาลหุ่นขึ้นบริหารดินแดนพม่าในปีพุทธศักราช 1832
อังวะและหงสาวดี[แก้]ดูบทความหลักที่: อาณาจักรอังวะ และ อาณาจักรหงสาวดีหลังจากการล่มสลายของอาณาจักรพุกาม พม่าได้แตกแยกออกจากกันอีกครั้ง ราชวงศ์อังวะซึ่งได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอาณาจักรพุกามได้ถูกสถาปนาขึ้นที่เมืองอังวะในปีพุทธศักราช 1907 ศิลปะและวรรณกรรมของพุกามได้ถูกฟื้นฟูจนยุคนี้กลายเป็นยุคทองแห่งวรรณกรรมของพม่า แต่เนื่องด้วยอาณาเขตที่ยากต่อป้องกันการรุกรานจากศัตรู เมืองอังวะจึงถูกชาวไทใหญ่เข้าครอบครองได้ในปีพุทธศักราช 2070
สำหรับดินแดนทางใต้ ชาวมอญได้สถาปนาอาณาจักรของพวกตนขึ้นใหม่อีกครั้งที่หงสาวดี โดยมะกะโทหรือพระเจ้าฟ้ารั่ว เป็นจุดเริ่มต้นยุคทองของมอญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางของพุทธศาสนานิกายเถรวาทและศูนย์กลางทางการค้าขนาดใหญ่ในเวลาต่อมา
ราชวงศ์ตองอู[แก้]ดูบทความหลักที่: ราชวงศ์ตองอู

อาณาเขตของราชวงศ์ตองอู สมัยพระเจ้าบุเรงนอง (สีเขียว)

พระเจ้าบุเรงนอง "พระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู"พระเจ้าเมงจีโย ได้รวบรวมชาวพม่าที่หลงเหลืออยู่อย่างกระจัดกระจาย โดยสถาปนาเมืองตองอูขึ้นเป็นราชธานี เมืองตองอูเข้มแข็งขึ้นมาในรัชสมัยของ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ พระโอรสของพระองค์ (ครองราชย์ พ.ศ. 2074–2093) และได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรขยายไปรอบด้าน เช่น แปร, พะสิม อังวะ, ยะไข่ และที่สำคัญที่สุดคือ หงสาวดี อันเป็นอาณาจักรเดิมของชาวมอญ
ในช่วงระยะเวลานี้ ได้มีการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่เกิดขึ้นในภูมิภาค ชาวไทใหญ่มีกำลังเข้มแข็งเป็นอย่างมากทางตอนเหนือ การเมืองภายในอาณาจักรอยุธยาเกิดความไม่มั่นคง ในขณะที่โปรตุเกสได้เริ่มมีอิทธิพลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และสามารถเข้าครอบครองมะละกาได้ การเข้ามาของบรรดาพ่อค้าชาวยุโรป ทำให้พม่ากลายเป็นศูนย์กลางทางการค้าที่สำคัญอีกครั้งหนึ่ง การที่พระเจ้าตะเบงชะเวตี้ได้ตีและย้ายเมืองหลวงจากตองอูมาอยู่ที่เมืองหงสาวดีซึ่งเป็นเมืองของชาวมอญ เหตุผลส่วนหนึ่งก็เนื่องด้วยทำเลทางการค้าและการกดให้ชาวมอญอยู่ภายใต้อำนาจ พระเจ้าบุเรงนอง (ครองราชย์ พ.ศ. 2094–2124) ซึ่งเป็นพระเทวัน (พี่เขย) ของพระเจ้าตะเบงชะเวตี้ ได้ขึ้นครองราชย์สืบต่อมาและสามารถเข้าครอบครองอาณาจักรต่าง ๆ รายรอบได้ อาทิ มณีปุระ (พ.ศ. 2103) อยุธยา (พ.ศ. 2112) ในรัชสมัยของพระองค์พม่ามีอาณาเขตกว้างใหญ่ไพศาลที่สุด อย่างไรก็ตาม ทั้งมณีปุระและอยุธยา ต่างก็ประกาศตนเป็นอิสระภายในเวลาต่อมาไม่นาน
เมื่อต้องเผชิญกับการก่อกบฏจากเมืองขึ้นหลายแห่ง ประกอบกับการรุกรานของโปรตุเกส กษัตริย์แห่งราชวงศ์ตองอูจำเป็นต้องถอนตัวจากการครอบครองดินแดนทางตอนใต้ โดยย้ายเมืองหลวงไปอยู่ที่เมืองอังวะ พระเจ้าอโนเพตลุน พระนัดดาของพระเจ้าบุเรงนอง สามารถรวบรวมแผ่นดินพม่าให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันอีกครั้งในพุทธศักราช 2156 พระองค์ตัดสินใจที่จะใช้กำลังเข้าต่อต้านการรุกรานของโปรตุเกส พระเจ้าทาลุน ผู้สืบทอดราชบัลลังก์ ได้ฟื้นฟูหลักธรรมศาสตร์ของอาณาจักรพุกามเก่า แต่พระองค์ทรงใช้เวลากับเรื่องศาสนามากเกินไป จนละเลยที่จะใส่ใจต่ออาณาเขตทางตอนใต้ ท้ายที่สุด หงสาวดี ที่ได้รับการสนับสนุนจากฝรั่งเศสซึ่งตั้งมั่นอยู่ในอินเดีย ก็ได้ทำการประกาศเอกราชจากอังวะ จากนั้นอาณาจักรของชาวพม่าก็ค่อย ๆ อ่อนแอลงและล่มสลายไปในปีพุทธศักราช 2295 จากการรุกรานของชาวมอญ
ราชวงศ์โกนบอง[แก้]ดูบทความหลักที่: ราชวงศ์โกนบองราชวงศ์โกนบอง หรือ ราชวงศ์อลองพญา ได้รับการสถาปนาขึ้นและสร้างความเข้มแข็งจนถึงขีดสุดได้ภายในเวลาอันรวดเร็ว พระเจ้าอลองพญาซึ่งเป็นผู้นำที่ได้รับความนิยมจากชาวพม่า ได้ขับไล่ชาวมอญที่เข้ามาครอบครองดินแดนของชาวพม่าได้ในปี พ.ศ. 2296 จากนั้นก็สามารถเข้ายึดครองอาณาจักรมอญทางใต้ได้ในปี พ.ศ. 2302 ทั้งยังสามารถกลับเข้ายึดครองกรุงมณีปุระได้ในช่วงเวลาเดียวกัน หลังจากเข้ายึดครองตะนาวศรีพระองค์ได้ยาตราทัพเข้ารุกรานอยุธยา แต่ต้องประสบความล้มเหลวเมื่อพระองค์สวรรคตระหว่างการสู้รบ พระเจ้ามังระ (ครองราชย์ พ.ศ. 2306 – 2319) พระราชโอรส ได้โปรดให้ส่งทัพเข้ารุกรานอาณาจักรอยุธยาอีกครั้งในปี พ.ศ. 2309 ซึ่งประสบความสำเร็จในปีถัดมา ในรัชสมัยนี้แม้จีนจะพยายามขยายอำนาจเข้าสู่ดินแดนพม่า แต่พระองค์ก็สามารถยับยั้งการรุกรานจากจีนได้ทั้งสี่ครั้ง (ช่วงปี พ.ศ. 2309–2312) ทำให้ความพยายามในการขยายพรมแดนของจีนทางด้านนี้ต้องยุติลง ในรัชสมัยของพระเจ้าปดุง (ครองราชย์ พ.ศ. 2324–2362) พระโอรสอีกพระองค์หนึ่งของพระเจ้าอลองพญา พม่าต้องสูญเสียอำนาจที่มีเหนืออยุธยาไป แต่ก็สามารถผนวกดินแดนยะไข่ และตะนาวศรีเข้ามาไว้ได้ในปี พ.ศ. 2327 และ 2336 ตามลำดับ ในช่วงเดือนมกราคมของปี พ.ศ. 2366 ซึ่งอยู่ในรัชสมัยของพระเจ้าจักกายแมง (ครองราชย์ พ.ศ. 2362–2383) ขุนนางชื่อมหาพันธุละ นำทัพเข้ารุกรานแคว้นมณีปุระและอัสสัมได้สำเร็จ ทำให้พม่าต้องเผชิญหน้าโดยตรงกับอังกฤษที่ครอบครองอินเดียอยู่ในขณะนั้น
สงครามกับอังกฤษและการล่มสลายของราชอาณาจักร[แก้]ดูบทความหลักที่: สงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่หนึ่ง, สงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่สอง, สงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่สาม และ พม่าภายใต้การปกครองของอังกฤษ

พระเจ้าธีบอ และพระนางศุภยาลัต

ภาพเจดีย์ชเวดากอง วาดโดยศิลปินชาวอังกฤษ เมื่อปี พ.ศ. 2368สืบเนื่องจากการพยายามขยายอำนาจของอังกฤษ กองทัพอังกฤษได้เข้าทำสงครามกับพม่าในปี พ.ศ. 2367 สงครามระหว่างพม่าและอังกฤษครั้งที่หนึ่ง (พ.ศ. 2367–2369) ยุติลงโดยอังกฤษเป็นฝ่ายได้รับชัยชนะ ฝ่ายพม่าจำต้องทำสนธิสัญญายันดาโบกับอังกฤษ ทำให้พม่าต้องสูญเสียดินแดนอัสสัม, มณีปุระ, ยะไข่ และตะนาวศรีไป ซึ่งอังกฤษก็เริ่มต้นตักตวงทรัพยากรต่าง ๆ ของพม่านับแต่นั้นเพื่อเป็นหลักประกันสำหรับวัตถุดิบที่จะป้อนสู่สิงคโปร์ สร้างความแค้นเคืองให้กับทางพม่าเป็นอย่างมาก กษัตริย์องค์ต่อมาจึงทรงยกเลิกสนธิสัญญายันดาโบ และทำการโจมตีผลประโยชน์ของฝ่ายอังกฤษทั้งต่อบุคคลและเรือ เป็นต้นเหตุให้เกิดสงครามระหว่างพม่าและอังกฤษครั้งที่สอง ซึ่งก็จบลงโดยชัยชนะเป็นของอังกฤษอีกครั้ง หลังสิ้นสุดสงครามครั้งนี้อังกฤษได้ผนวกดินแดนทางใต้เข้าไว้กับตน โดยเรียกดินแดนดังกล่าวใหม่ว่าพม่าตอนล่าง สงครามครั้งนี้ก่อให้เกิดการปฏิวัติครั้งใหญ่ในพม่า เริ่มต้นด้วยการเข้ายึดอำนาจโดยพระเจ้ามินดง (ครองราชย์ พ.ศ. 2396–2421) จากพระเจ้าพุกามแมง (ครองราชย์ พ.ศ. 2389–2396) ซึ่งเป็นพระเชษฐาต่างพระชนนี พระเจ้ามินดงพยายามพัฒนาประเทศพม่าเพื่อต่อต้านการรุกรานของอังกฤษ พระองค์ได้สถาปนามัณฑะเลย์ ซึ่งยากต่อการรุกรานจากภายนอกขึ้นเป็นเมืองหลวงแห่งใหม่ แต่ก็ยังไม่เพียงพอที่จะหยุดยั้งการรุกรานจากอังกฤษได้
รัชสมัยต่อมา พระเจ้าธีบอ (ครองราชย์ พ.ศ. 2421–2428) ซึ่งเป็นพระโอรสของพระเจ้ามินดง ทรงมีบารมีไม่พอที่จะควบคุมราชอาณาจักรได้ จึงทำให้เกิดความวุ่นวายขึ้นไปทั่วในบริเวณชายแดน ในที่สุดพระองค์ได้ตัดสินพระทัยยกเลิกสนธิสัญญากับอังกฤษที่พระเจ้ามินดงได้ทรงกระทำไว้ และได้ประกาศสงครามกับอังกฤษเป็นครั้งที่สามในปี พ.ศ. 2428 ผลของสงครามครั้งนี้ทำให้อังกฤษสามารถเข้าครอบครองดินแดนประเทศพม่าส่วนที่เหลือเอาไว้ได้ทั้งหมด
เอกราช[แก้]ดูบทความหลักที่: การยึดครองพม่าของญี่ปุ่นพม่าตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษในปี พ.ศ. 2429 และระยะก่อนการเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 เล็กน้อย ญี่ปุ่นได้เข้ามามีบทบาทในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ติดต่อกับพวกทะขิ่น ซึ่งเป็นองค์กรของนักชาตินิยมในพม่า มีออง ซาน ผู้นำของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยย่างกุ้งเป็นหัวหน้า พวกทะขิ่นเข้าใจว่าญี่ปุ่นจะสนับสนุนการประกาศอิสรภาพของพม่าจากอังกฤษ แต่เมื่อญี่ปุ่นยึดครองพม่าได้แล้วกลับพยายามหน่วงเหนี่ยวมิให้พม่าประกาศเอกราช และได้ส่งอองซานและพวกทะขิ่นประมาณ 30 คน เดินทางไปญี่ปุ่นเพื่อรับคำแนะนำในการดำเนินการเพื่อเรียกร้องอิสรภาพจากอังกฤษ
เมื่อคณะของอองซานได้เดินทางกลับพม่าใน พ.ศ. 2485 อองซานได้ก่อตั้ง องค์การสันนิบาตเสรีภาพแห่งประชาชนต่อต้านฟาสซิสต์ (Anti-Fascist Peoples Freedom League : AFPFL) เพื่อต่อต้านญี่ปุ่นอย่างลับ ๆ องค์การนี้ภายหลังได้กลายเป็นพรรคการเมือง ชื่อ พรรค AFPFL เมื่อญี่ปุ่นแพ้สงครามโลกครั้งที่ 2 แล้ว อองซานและพรรค AFPFL ได้เจรจากับอังกฤษ โดยอังกฤษยืนยันที่จะให้พม่ามีอิสรภาพปกครองตนเองภายใต้เครือจักรภพ และมีข้าหลวงใหญ่อังกฤษประจำพม่าช่วยให้คำปรึกษา แต่อองซานมีอุดมการณ์ที่ต้องการเอกราชอย่างสมบูรณ์ อังกฤษได้พยายามสนันสนุนพรรคการเมืองอื่น ๆ ขึ้นแข่งอำนาจกับพรรค AFPFL ของอองซานแต่ไม่เป็นผลสำเร็จ จึงยินยอมให้พรรค AFPFL ขึ้นบริหารประเทศโดยมีอองซานเป็นหัวหน้า อองซานมีนโยบายสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ และต้องการเจรจากับรัฐบาลอังกฤษโดยสันติวิธี จึงทำให้เกิดความขัดแย้งกับฝ่ายนิยมคอมมิวนิสต์ในพรรค AFPFL อองซานและคณะรัฐมนตรีอีก 6 คน จึงถูกลอบสังหาร เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2490 ขณะที่เดินออกจากที่ประชุมสภา ต่อมาตะขิ้นนุหรืออู นุ ได้ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีแทนและมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2490 โดยอังกฤษได้มอบเอกราชให้แก่พม่าแต่ยังรักษาสิทธิทางการทหารไว้ 4 มกราคม พ.ศ. 2491 อังกฤษจึงได้มอบเอกราชให้แก่พม่าอย่างสมบูรณ์
การปกครองโดยทหาร[แก้]ดูบทความหลักที่: สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า (พ.ศ. 2491–2505), การก่อการกำเริบ 8888 และ การประท้วงต่อต้านรัฐบาลในพม่า พ.ศ. 2550

การประท้วงต่อต้านรัฐบาลในพม่า พ.ศ. 2550ใน พ.ศ. 2501 ประเทศพม่าประสบความล้มเหลวในการฟื้นฟูเศรษฐกิจ นอกจากนั้น สันนิบาตเสรีภาพประชาชนต่อต้านฟาสซิสต์ยังแตกแยกออกเป็นสองส่วน กลุ่มหนึ่งนำโดยอู นุและติน อีกกลุ่มนำโดยบะส่วยและจอเย่ง แม้อูนุจะประสบความสำเร็จในการนำประชาธิปไตยเข้าสู่ยะไข่โดยอูเซนดา แต่เกิดปัญหากับชาวปะโอ ชาวมอญ และชาวไทใหญ่ ปัญหาเหล่านี้ทำให้รัฐสภาไม่มีเสถียรภาพ แม้อูนุจะผ่านการลงมติไม่ไว้วางใจโดยได้รับการสนับสนุนจากแนวร่วมสหชาติ
กองทัพได้เจรจาปัญหาเกี่ยวกับพรรคคอมมิวนิสต์พม่ากับรัฐบาลของอูนุ ทำให้อูนุเชิญเน วิน ผู้บัญชาการทหารเข้ามาจัดตั้งรัฐบาล กลุ่มแนวร่วมสหชาติถูกจับกุม 400 คน และมี 153 คนถูกส่งไปยังหมู่เกาะโกโกในทะเลอันดามัน ในกลุ่มที่ถูกจับกุมมีอองทาน พี่ชายของอองซานด้วย หนังสือพิมพ์ Botahtaung Kyemon Rangoon Daily ถูกสั่งปิด
รัฐบาลของเน วินประสบความสำเร็จในการทำให้สถานการณ์มั่นคงและเกิดการเลือกตั้งใน พ.ศ. 2503 ซึ่งพรรคสหภาพของอูนุได้เสียงข้างมาก แต่เสถียรภาพไม่ได้เกิดขึ้นนาน เมื่อขบวนการสหพันธ์ฉานนำโดยเจ้าส่วยใต้ เจ้าฟ้าเมืองยองห้วยที่เป็นประธานาธิบดีคนแรกของพม่า ต้องการสิทธิตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2490 ที่ขอแยกตัวออกไปได้เมื่อรวมตัวเป็นสหภาพครบสิบปี เน วินพยายามลดตำแหน่งเจ้าฟ้าของไทใหญ่โดยแลกกับสิทธิประโยชน์ต่างๆใน พ.ศ. 2502 ในที่สุด เน วินได้ก่อรัฐประหารในวัที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2505 อูนุและอีกหลายคนถูกจับกุม เจ้าส่วยใต้ถูกยิงเสียชีวิต เจ้าจาแสง เจ้าฟ้าเมืองตี่บอหายตัวไปอย่างไร้ร่องรอยที่จุดตรวจใกล้ตองจี
มีการปฏิวัติระดับชาติเพื่อเรียกร้องประชาธิปไตยในประเทศพม่า เมื่อ พ.ศ. 2531 การปฏิวัติเริ่มในวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988) และจากวันที่นี้ (8-8-88) ทำให้เหตุการณ์นี้มักเป็นที่รู้จักในชื่อ "การก่อการปฏิวัติ 8888" ประเทศพม่าปกครองด้วยพรรคโครงการสังคมนิยมพม่า ที่มีพรรคการเมืองเดียวมาตั้งแต่ พ.ศ. 2505 การปกครองเน้นชาตินิยมและรัฐเข้าควบคุมการวางแผนทุกประการ การลุกฮือเริ่มต้นจากนักศึกษาในเมืองย่างกุ้งเมื่อ 8 สิงหาคม ข่าวการประท้วงของนักศึกษาได้แพร่กระจายไปทั่วประเทศ[18] ต่อมามีประชาชนเรือนแสนที่เป็นพระภิกษุ เยาวชน นักศึกษา แม่บ้านและหมอ ออกมาประท้วงต่อต้านระบอบการปกครอง รัฐบาลได้มีคำสั่งให้สลายฝูงชนด้วยอาวุธ ทำให้มีผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจำนวนมาก[19] ในวันที่ 18 กันยายน เกิดการรัฐประหารและทหารได้กลับมาปกครองประเทศอีกครั้ง มีการจัดตั้งสภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ ซึ่งเป็นองค์กรที่เปลี่ยนรูปมาจากพรรคโครงการสังคมนิยมพม่า หลังจากที่ได้ประกาศกฏอัยการศึก ได้เกิดการประท้วงที่รุนแรงขึ้น นักศึกษา พระสงฆ์และนักเรียนราวพันคนถูกสังหาร และมีประชาชนอีก 500 คนถูกฆ่าในการประท้วงนอกสถานทูตสหรัฐอเมริกา นักศึกษาบางส่วนได้หลบหนีเข้ามาในประเทศไทย[18][20][21] ในขณะที่ในพม่ารายงานว่ามีผู้เสียชีวิต 350 คน[22][23] ในวันที่ 21 กันยายน รัฐบาลได้เข้ามาปกครองประเทศและขบวนการต่อต้านได้สลายตัวไปในเดือนตุลาคม เมื่อสิ้นปี พ.ศ. 2531 เชื่อว่าผู้เสียชีวิตร่วมหมื่นคนและสูญหายอีกจำนวนมากจากปฏิบัติการทางทหารระหว่างการก่อการปฏิวัติ
การประท้วงเพื่อต่อต้านรัฐบาลทหารพม่าที่นำโดยคณะพระภิกษุสงฆ์ แม่ชี นักศึกษาและประชาชน ซึ่งเริ่มต้นตั้งแต่วันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2550 จากการไม่พอใจของประชาชนต่อการประกาศขึ้นราคาน้ำมันเชื้อเพลิงเกือบเท่าตัว และขึ้นราคาก๊าซหุงต้มถึง 5 เท่าอย่างฉับพลันโดยมิได้ประกาศแจ้งบอกของรัฐบาลทหารพม่า[24] การประท้วงเริ่มรุนแรงขึ้นเรื่อยมา จนถึงวันที่ 5 กันยายน มีการชุมนุมประท้วงที่วัดแห่งหนึ่งในเมืองปะโคะกูทางตอนกลางของประเทศ เจ้าหน้าที่เข้าสลายการชุมนุมและมีผู้บาดเจ็บจำนวนมาก รวมทั้งพระสงฆ์จำนวน 3 รูป สื่อมวลชนบางแห่งเรียกเหตุการณ์ครั้งนี้ว่า Saffron Revolution หรือ การปฏิวัติผ้ากาสาวพัสตร์[25][26]
คณะพระภิกษุ ซึ่งเป็นสถาบันที่ได้รับความเคารพอย่างสูงจากชาวพม่า ประกาศ "ปฐม นิคหกรรม" ไม่รับบิณฑบาตจากผู้ที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาลทหารพม่า ทหาร และครอบครัว และเรียกร้องให้ทางการพม่า ขอโทษองค์กรสงฆ์อย่างเป็นทางการภายในวันที่ 17 กันยายน แต่ไม่ได้รับการตอบสนอง ภิกษุสงฆ์จึงเริ่มเข้าร่วมการประท้วงด้วยตั้งแต่วันที่ 18 กันยายน เมื่อรวมผู้ประท้วงแล้วมากกว่า 1 แสนคน การประท้วงต่อต้านรัฐบาลเผด็จการครั้งนี้จึงนับว่าเป็นการประท้วงต่อต้านครั้งใหญ่ที่สุดตั้งแต่การประท้วงเมื่อปี พ.ศ. 2531 ซึ่งมีผู้เสียชีวิตกว่า 3,000 คน ในการใช้กำลังทหารเข้าสลายการประท้วง[27]
ภูมิศาสตร์[แก้]ประเทศพม่า ซึ่งมีพื้นที่ทั้งหมด 676,578 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่ (หรือคาบสมุทรอินโดจีน) และใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก ตั้งอยู่ระหว่างละติจูด 9° และ 29° เหนือ และลองติจูด 92° และ 102° ตะวันออก
ประเทศพม่ามีพรมแดนติดต่อกับบังกลาเทศยาว 271 กิโลเมตร (168 ไมล์) ติดกับอินเดียทางตะวันตกเฉียงเหนือยาว 1,468 กิโลเมตร (912 ไมล์) พรมแดนทางเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือติดต่อกับทิเบตและมณฑลยูนนานของจีนยาว 2,129 กิโลเมตร (1,323 ไมล์) ติดกับลาวยาว 238 กิโลเมตร (148 ไมล์) และติดกับไทยยาว 2,416 กิโลเมตร (1,501 ไมล์) พม่ามีแนวชายฝั่งต่อเนื่องตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามันทางตะวันตกเฉียงใต้และใต้ ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่ของพรมแดนทั้งหมด[28]
การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]ประเทศพม่าแบ่งเขตการปกครองในระดับภูมิภาคออกเป็น 7 เขต (region) สำหรับพื้นที่ซึ่งประชากรส่วนใหญ่เป็นกลุ่มชาติพันธุ์พม่า และ 7 รัฐ (states) สำหรับพื้นที่ซึ่งประชากรส่วนใหญ่เป็นชนกลุ่มน้อย และ 1 ดินแดนสหภาพ ได้แก่

เขตการปกครองของประเทศพม่า
เขต တိုင်းဒေသကြီး
ชื่อเมืองหลวงพื้นที่ (ตารางกิโลเมตร)ประชากร (พ.ศ. 2557)
1. เขตซะไกง์ซะไกง์93,704.85,325,347[29]
2. เขตตะนาวศรีทวาย44,344.91,408,401[29]
3. เขตพะโค (หงสาวดี)พะโค (หงสาวดี)39,402.34,867,373[29]
4. เขตมะเกวมะเกว44,820.63,917,055[29]
5. เขตมัณฑะเลย์มัณฑะเลย์37,945.66,165,723[29]
6. เขตย่างกุ้งย่างกุ้ง10,276.77,360,703[29]
7. เขตอิรวดีพะสิม35,031.86,184,829[29]
รัฐ ပြည်နယ်
ชื่อเมืองหลวงพื้นที่ (ตารางกิโลเมตร)ประชากร (พ.ศ. 2557)
1. รัฐกะฉิ่นมยิจีนา89,041.81,689,441[29]
2. รัฐกะยาลอยกอ11,731.5286,627[29]
3. รัฐกะเหรี่ยงพะอาน30,3831,574,079[29]
4. รัฐชานตองจี155,801.35,824,432[29]
5. รัฐชินฮาคา36,018.8478,801[29]
6. รัฐมอญเมาะลำเลิง12,296.62,054,393[29]
7. รัฐยะไข่ซิตตเว36,778.03,188,807[29]
ดินแดนสหภาพ
ชื่อเมืองหลวงพื้นที่ (ตารางกิโลเมตร)ประชากร (พ.ศ. 2557)
1. ดินแดนสหภาพเนปยีดอเนปยีดอ7,0541,160,242[29]เมืองใหญ่สุด 10 อันดับแรก[แก้] 
  • ด
  • ค
  • ก

เมืองใหญ่ที่สุดในพม่า
http://www.geohive.com/cntry/myanmar.aspx
ที่เมืองเขตการปกครองประชากร (คน)

ย่างกุ้ง

มัณฑะเลย์1ย่างกุ้งเขตย่างกุ้ง5,211,431
เนปยีดอ

พะโค
2มัณฑะเลย์เขตมัณฑะเลย์1,225,546
3เนปยีดอดินแดนสหภาพเนปยีดอ1,160,242
4พะโคเขตพะโค491,434
5พะอานรัฐกะเหรี่ยง421,575
6ตองยีรัฐฉาน381,636
7โมนยวาเขตสะกาย372,095
8มิตจีนารัฐกะฉิ่น306,949
9เมาะลำเลิงรัฐมอญ289,388
10มาเกวเขตมาเกว289,247การเมืองการปกครอง[แก้]ประเทศพม่าเผชิญกับหนึ่งในสงครามกลางเมืองที่ยืดเยื้อที่สุดท่ามกลางกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีอยู่มากมายซึ่งยังแก้ไม่ตก ตั้งแต่ พ.ศ. 2505 ถึง 2554 ประเทศพม่าอยู่ภายใต้ระบอบเผด็จการทหาร คณะผู้ยึดอำนาจการปกครองถูกยุบอย่างเป็นทางการใน พ.ศ. 2554 หลังการเลือกตั้งทั่วไปใน พ.ศ. 2553 และมีการตั้งรัฐบาลพลเรือนในนามแทน แต่ทหารยังมีอิทธิพลอยู่มาก สหประชาชาติและอีกหลายองค์การได้รายงานการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบในพม่า รวมทั้งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ การข่มขืน แรงงานเด็ก ทาส การค้ามนุษย์ และการขาดเสรีภาพในการพูด ในช่วงปีหลัง พม่าและผู้นำทหารได้ผ่อนปรนต่อนักเคลื่อนไหวประชาธิปไตยและกำลังพัฒนาความสัมพันธ์อย่างช้า ๆ กับมหาอำนาจและสหประชาชาติ
เศรษฐกิจ[แก้]
นครย่างกุ้งประเทศพม่าอุดมไปด้วยทรัพยากร แต่เศรษฐกิจพม่าเป็นหนึ่งในเศรษฐกิจด้อยพัฒนาที่สุดในโลก จีดีพีของพม่าอยู่ที่ 42,953 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และเติบโตด้วยอัตราเฉลี่ยร้อยละ 2.9 ต่อปี ซึ่งเป็นอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจต่ำสุดในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา แคนาดาและอีกหลายประเทศได้กำหนดการลงโทษทางเศรษฐกิจต่อพม่า
ระบบสาธารณสุขของพม่าเป็นหนึ่งในระบบสาธารณสุขที่เลวร้ายที่สุดในโลก องค์การอนามัยโลกจัดอันดับพม่าไว้อันดับที่ 190 ซึ่งเป็นอันดับสุดท้าย ประเทศพม่ามี เกษตรกรรม เป็นอาชีพหลัก เขตเกษตรกรรมคือบริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอิรวดี แม่น้ำสะโตง แม่น้ำทวาย-มะริด ปลูกข้าวเจ้า ปอกระเจา อ้อย และพืชเมืองร้อนอื่น ๆ ส่วนเขตฉาน อยู่ติดแม่น้ำโขงปลูกพืชผักจำนวนมาก ทำเหมืองแร่ ภาคกลางตอนบนมีน้ำมันปิโตรเลียม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขุดแร่ หิน สังกะสี และภาคตะวันออกเฉียงใต้ ทำเหมืองดีบุกทางตอนใต้เมืองมะริดมีเพชรและหยกจำนวนมาก การทำป่าไม้ มีการทำป่าไม้สักทางภาคเหนือ ส่งออกขายและล่องมาตามแม่น้ำอิรวดีเข้าสู่ย่างกุ้ง อุตสาหกรรม กำลังพัฒนา อยู่บริเวณตอนล่าง เช่น ย่างกุ้ง และ มะริด และทวาย เป็นอุตสาหกรรมต่อเรือเดินสมุทรที่ใหญ่ของพม่า
ข้อตกลงในการใช้ บริการทำวีซ่า กับ NYC Visa&Translation Service ทางบริษัท NYC Visa&Translation Service ขอแจ้งข้อตกลงการใช้ บริการทำวีซ่า ของ NYC Visa&Translation Service กับลูกค้าทุกท่าน เพื่อให้การตกลงซื้อขายบริการใด ๆ จาก
บริษัทฯ เป็นไปโดยสมบูรณ์ กรุณาดำเนินการดังต่อไปนี้ 


  • เตรียมเอกสารประกอบการยื่นวีซ่า ให้ครบถ้วนตามที่พนักงานแจ้งให้ท่านทราบ 
  • ระยะเวลาการยื่นวีซ่า จะเริ่มนับจากทางบริษัทได้รับเอกสารจากลูกค้าครบถ้วน
  • หากมีการปลอมแปลงเอกสารใดๆ หรือ บิดเบือนข้อความในเอกสาร ทางบริษัทขอสงวนสิทธิ์ไม่รับผิดชอบทุกกรณี
  • หากลูกค้าไม่ผ่านพิจารณาวีซ่าจากสถานทูต ทางบริษัทขอสงวนสิทธิ์ไม่รับผิดชอบทุกกรณี เนื่องจากการพิจารณาเป็นดุลยพินิจของสถานทูตเป็นที่สิ้นสุด
  • โปรดตรวจสอบ อายุการใช้งานของหนังสือเดินทาง ( Passport) ของผู้โดยสาร และผู้ร่วมเดินทางทุกท่าน ว่าจะต้องคงมีอายุเหลือ ณ วันเดินทาง มากกว่า 6 เดือน ขึ้นไป
  • กรณีที่ ท่านไม่ได้ทำการทักท้วงใด ๆ ในลักษณะลายลักษณ์อักษร บริษัทฯ ถือว่าท่านได้รับทราบเงื่อนไขและข้อกำหนดทั้งหมด ของบริษัทฯ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยหากเกิดความเสียหายใดๆ บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิ์ไม่รับผิดชอบทุกกรณี
  • หากท่านมีข้อสงสัยใดๆ กรุณาสอบถามพนักงาน " แผนกกรุ๊ปเหมา และ วีซ่า ที่ท่านติดต่อได้ตลอดเวลาทำการของบริษัทฯ 
  •  ระหว่างเวลา 09:00 - 18.00 น ในวันจันทร์ - ศุกร์  ได้ทางโทรศัพท์ 083-2494999
  •  การดำเนินการขอวีซ่า Visa บริษัทมีหน้าที่ดูแลเอกสาร และดำเนินการเกี่ยวกับยื่นเอกสารให้กับสถานทูตเพื่อพิจารณาวีซ่า Visa แต่ผลการพิจารณาวีซ่า Visa ขึ้นอยู่กับสถานทูตของแต่ละประเทศเท่านั้น
  •  กรณีลูกค้าที่ดำเนินการยื่นวีซ่า  Visa แล้ว แต่หากสถานทูตปฏิเสธวีซ่าลูกค้า (วีซ่าไม่ผ่าน) ลูกค้าจะต้องชำระค่าธรรมเนียมของสถานทูตเองในครั้งต่อไปเอง เนื่องจากการพิจารณาให้วีซ่านั้น เป็นดุลยพินิจของสถานทูต
  • กรณีลูกค้าชำระค่าธรรมเนียม และ ค่าบริการยื่นวีซ่า แล้ว จะไม่สามารถขอคืนเงินจากบริษัทไม่ว่ากรณีใด ๆ
​
รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าทำงานประเทศพม่า, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่านักเรียนประเทศพม่า, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าคู่มั่นประเทศพม่า, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าแต่งงานประเทศพม่า, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าถาวรประเทศพม่า, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าติดตามประเทศพม่า, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าธุรกิจประเทศพม่า, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าดูงานประเทศพม่า, ​รับยื่นวีซ่าท่องเที่ยวประเทศพม่า, รับยื่นวีซ่าทำงานประเทศพม่า, รับยื่นวีซ่านักเรียนประเทศพม่า, รับยื่นวีซ่าคู่มั่นประเทศพม่า, รับยื่นวีซ่าแต่งงานประเทศพม่า, รับยื่นวีซ่าถาวรประเทศพม่า, รับยื่นวีซ่าติดตามประเทศพม่า, รับยื่นวีซ่าธุรกิจประเทศพม่า, รับยื่นวีซ่าดูงานประเทศพม่า, รับทำวีซ่าท่องเที่ยวประเทศพม่า, รับทำวีซ่าทำงานประเทศพม่า, รับทำวีซ่านักเรียนประเทศพม่า, รับทำวีซ่าคู่มั่นประเทศพม่า, รับทำวีซ่าแต่งงานประเทศพม่า, รับทำวีซ่าถาวรประเทศพม่า, ให้คำปรึกษาวีซ่าแต่งงานประเทศพม่า, ให้คำปรึกษาวีซ่าถาวรประเทศพม่า , ให้คำปรึกษาวีซ่าติดตามประเทศพม่า, ให้คำปรึกษาวีซ่าธุรกิจประเทศพม่า, ให้คำปรึกษาวีซ่าดูงานประเทศพม่า, แนะนำวีซ่าท่องเที่ยวประเทศพม่า, แนะนำวีซ่าทำงานประเทศพม่า, แนะนำวีซ่านักเรียนประเทศพม่า, แนะนำวีซ่าคู่มั่นประเทศพม่า, แนะนำวีซ่าแต่งงานประเทศพม่า, แนะนำวีซ่าถาวรประเทศพม่า, แนะนำวีซ่าติดตามประเทศพม่า, แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศพม่า, แนะนำวีซ่าดูงานประเทศพม่า, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าท่องเที่ยวประเทศพม่า, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าทำงานประเทศพม่า, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่านักเรียนประเทศพม่า, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าคู่มั่นประเทศพม่า, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าแต่งงานประเทศพม่า, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าถาวรประเทศพม่า, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าติดตามประเทศพม่า, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าธุรกิจประเทศพม่า, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าดูงานประเทศพม่า, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าท่องเที่ยวประเทศพม่า,  รับทำวีซ่าติดตามประเทศพม่า, รับทำวีซ่าธุรกิจประเทศพม่า, รับทำวีซ่าดูงานประเทศพม่า, รับปรึกษาวีซ่าท่องเที่ยวประเทศพม่า, รับปรึกษาวีซ่าทำงานประเทศพม่า, รับปรึกษาวีซ่านักเรียนประเทศพม่า, รับปรึกษาวีซ่าคู่มั่นประเทศพม่า, รับปรึกษาวีซ่าแต่งงานประเทศพม่า, รับปรึกษาวีซ่าถาวรประเทศพม่า, รับปรึกษาวีซ่าติดตามประเทศพม่า, รับปรึกษาวีซ่าธุรกิจประเทศพม่า, รับปรึกษาวีซ่าดูงานประเทศพม่า, ให้คำปรึกษาวีซ่าท่องเที่ยวประเทศพม่า, ให้คำปรึกษาวีซ่าทำงานประเทพม่า, ให้คำปรึกษาวีซ่านักเรียนประเทศพม่า, ให้คำปรึกษาวีซ่าคู่มั่นประเทศพม่า, ​รับยื่นวีซ่าท่องเที่ยวประเทศพม่า, รับยื่นวีซ่าทำงานประเทศพม่า, รับยื่นวีซ่านักเรียนประเทศพม่า, รับยื่นวีซ่าคู่มั่นประเทศพม่า, รับยื่นวีซ่าแต่งงานประเทศพม่า, รับยื่นวีซ่าถาวรประเทศพม่า, รับยื่นวีซ่าติดตามประเทศพม่า, รับยื่นวีซ่าธุรกิจประเทศพม่า, รับยื่นวีซ่าดูงานประเทศพม่า, รับทำวีซ่าท่องเที่ยวประเทศพม่า, รับทำวีซ่าทำงานประเทศพม่า, รับทำวีซ่านักเรียนประเทศพม่า, รับทำวีซ่าคู่มั่นประเทศพม่า, รับทำวีซ่าแต่งงานประเทศพม่า, รับทำวีซ่าถาวรประเทศพม่า, รับทำวีซ่าติดตามประเทศพม่า, รับทำวีซ่าธุรกิจประเทศพม่า, รับทำวีซ่าดูงานประเทศพม่า, รับปรึกษาวีซ่าท่องเที่ยวประเทศพม่า, รับปรึกษาวีซ่าทำงานประเทศพม่า, รับปรึกษาวีซ่านักเรียนประเทศพม่า, รับปรึกษาวีซ่าคู่มั่นประเทศพม่า, รับปรึกษาวีซ่าแต่งงานประเทศพม่า, รับปรึกษาวีซ่าถาวรประเทศพม่า, รับปรึกษาวีซ่าติดตามประเทศพม่า, รับปรึกษาวีซ่าธุรกิจประเทศพม่า, รับปรึกษาวีซ่าดูงานประเทศพม่า, ให้คำปรึกษาวีซ่าท่องเที่ยวประเทศพม่า, ให้คำปรึกษาวีซ่าทำงานประเทศพม่า, ให้คำปรึกษาวีซ่านักเรียนประเทศพม่า, ให้คำปรึกษาวีซ่าคู่มั่นประเทศพม่า, ให้คำปรึกษาวีซ่าแต่งงานประเทศพม่า, ให้คำปรึกษาวีซ่าถาวรประเทศพม่า , ให้คำปรึกษาวีซ่าติดตามประเทศพม่า, ให้คำปรึกษาวีซ่าธุรกิจประเทศพม่า, ให้คำปรึกษาวีซ่าดูงานประเทศพม่า, แนะนำวีซ่าท่องเที่ยวประเทศพม่า, แนะนำวีซ่าทำงานประเทศพม่า, แนะนำวีซ่านักเรียนประเทศพม่า, แนะนำวีซ่าคู่มั่นประเทศพม่า, แนะนำวีซ่าแต่งงานประเทศพม่า, แนะนำวีซ่าถาวรประเทศพม่า, แนะนำวีซ่าติดตามประเทศพม่า, แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศพม่า, แนะนำวีซ่าดูงานประเทศพม่า, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าท่องเที่ยวประเทศพม่า, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าทำงานประเทศพม่า, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่านักเรียนประเทศพม่า, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าคู่มั่นประเทศพม่า, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าแต่งงานประเทศพม่า, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าถาวรประเทศพม่า, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าติดตามประเทศพม่า, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าธุรกิจประเทศพม่า, รับกรอกแบบฟอร์มวีซ่าดูงานประเทศพม่า, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าท่องเที่ยวประเทศพม่า, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าทำงานประเทศพม่า, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่านักเรียนประเทศพม่า, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าคู่มั่นประเทศพม่า, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าแต่งงานประเทศพม่า, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าถาวรประเทศพม่า, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าติดตามประเทศพม่า, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าธุรกิจประเทศพม่า, รับจัดเตรียมเอกสารขอวีซ่าดูงานประเทศพม่า​​, ​​ติดต่อขอใช้บริการ สาขาในกรุงเทพมหานคร แขวงขุมทอง แขวงจตุจักร แขวงจอมพล แขวงจันทรเกษม แขวงลาดยาว แขวงเสนานิคม เขตจอมทอง แขวงจอมทอง แขวงบางขุนเทียน แขวงบางค้อ แขวงบางมด เขตดอนเมือง แขวงสีกัน เขตดินแดง แขวงดินแดง เขตดุสิต แขวงดุสิต แขวงถนนนครไชยศรี แขวงวชิรพยาบาล แขวงสวนจิตรลดา แขวงสี่แยกมหานาค เขตตลิ่งชัน แขวงคลองชักพระ แขวงฉิมพลี แขวงตลิ่งชัน แขวงบางเชือกหนัง แขวงบางพรม แขวงบางระมาด แขวงทวีวัฒนา แขวงศาลาธรรมสพน์ เขตทุ่งครุ แขวงทุ่งครุ แขวงบางมด เขตธนบุรี แขวงดาวคะนอง แขวงตลาดพลู แขวงบางยี่เรือ แขวงบุคคโล แขวงวัดกัลยาณ์บูรณะ แขวงบางปะกอก แขวงราษฎร์บูรณะ เขตลาดกระบังแขวงยานนาวา เขตสายไหม แขวงคลองถนน แขวงสายไหม แขวงออเงิน เขตหนองแขม แขวงหนองแขม แขวงหนองค้างพลู เขตหนองจอก แขวงกระทุ่มราย แขวงคลองสิบ แขวงคลองสิบสอง แขวงคู้ฝั่งเหนือ แขวงโคกแฝด แขวงลำต้อยติ่ง แขวงลำผักชี แขวงหนองจอก เขตหลักสี่ แขวงตลาดบางเขน แขวงทุ่งสองห้อง เขตห้วยขวาง แขวงบางกะปิ แขวงสามเสนนอก แขวงสำเหร่ แขวงหิรัญรูจี เขตบางเขน แขวงท่าแร้ง แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางแค แขวงบางแค แขวงบางแคเหนือ แขวงบางไผ่ แขวงหลักสอง เขตบางกอกใหญ่ แขวงวัดท่าพระ แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกน้อย แขวงบางขุนนนท์ แขวงบางขุนศรี แขวงบ้านช่างหล่อ แขวงศิริราช แขวงอรุณอมรินทร์ เขตบางกะปิ แขวงคลองจั่น แขวงหัวหมาก เขตบางขุนเทียน แขวงท่าข้าม แขวงแสมดำ เขตบางคอแหลม แขวงบางโคล่ แขวงบางคอแหลม แขวงวัดพระยาไกร เขตบางซื่อ แขวงบางซื่อ เขตบางนา แขวงบางนา เขตบางบอน แขวงบางบอน เขตบางพลัด แขวงบางบำหรุ แขวงบางพลัด แขวงบางยี่ขัน แขวงบางอ้อ เขตบางรัก แขวงบางรัก แขวงมหาพฤฒาราม แขวงสี่พระยา แขวงสีลม แขวงสุริยวงศ์ เขตบึงกุ่ม แขวงคลองกุ่ม เขตปทุมวัน แขวงปทุมวัน แขวงรองเมือง แขวงลุมพินี แขวงวังใหม่ เขตประเวศ แขวงดอกไม้ แขวงประเวศ แขวงหนองบอน เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย แขวงคลองมหานาค แขวงบ้านบาตร แขวงป้อมปราบ แขวงวัดเทพศิรินทร์ แขวงวัดโสมนัส เขตพญาไท แขวงสามเสนใน เขตพระโขนง แขวงบางจาก เขตพระนคร แขวงชนะสงคราม แขวงตลาดยอดแขวงคลองสองต้นนุ่น แขวงคลองสามประเวศ แขวงทับยาว แขวงลาดกระบัง แขวงลำปลาทิว เขตลาดพร้าว แขวงจรเข้บัว แขวงลาดพร้าว เขตวังทองหลาง แขวงวังทองหลาง เขตวัฒนา แขวงคลองเตยเหนือ แขวงคลองตันเหนือ แขวงพระโขนงเหนือ เขตสวนหลวง แขวงสวนหลวง เขตสะพานสูง แขวงสะพานสูง เขตสัมพันธวงศ์ แขวงจักรวรรดิ แขวงตลาดน้อย แขวงสัมพันธวงศ์ เขตสาทร แขวงทุ่งมหาเมฆ แขวงทุ่งวัดดอน แถว เขตคลองเตย แขวงคลองเตย แขวงคลองตัน แขวงพระโขนง เขตคลองสาน แขวงคลองต้นไทร แขวงคลองสาน แขวงบางลำพูล่าง แขวงสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสามวา แขวงทรายกองดิน แขวงทรายกองดินใต้ แขวงบางชัน แขวงสามวาตะวันตก แขวงสามวาตะวันออก  เขตคันนายาว แขวงคันนายาว เขตจตุจักร  แขวงบวรนิเวศ แขวงบางขุนพรหม แขวงบ้านพานถม แขวงพระบรมมหาราชวัง แขวงวังบูรพาภิรมย์ แขวงวัดราชบพิธ แขวงวัดสามพระยา แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ แขวงสำราญราษฎร์ แขวงเสาชิงช้า เขตภาษีเจริญ แขวงคลองขวาง แขวงคูหาสวรรค์ แขวงบางจาก แขวงบางด้วน แขวงบางแวก แขวงบางหว้า แขวงปากคลองภาษีเจริญ เขตมีนบุรี แขวงมีนบุรี แขวงแสนแสบ เขตยานนาวา แขวงช่องนนทรี แขวงบางโพงพาง เขตราชเทวี แขวงถนนเพชรบุรี แขวงถนนพญาไท แขวงทุ่งพญาไท แขวงมักกะสัน เขตราษฎร์ แขวงห้วยขวาง สาขาในจังหวัดอ่างทอง โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดนครราชสีมา โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดบึงกาฬ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดบุรีรัมย์ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168,สาขาในจังหวัดพัทลุง โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดภูเก็ต โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดระนอง โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสตูล โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสงขลา โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสุราษฎร์ธานี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดฉะเชิงเทรา โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดชลบุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดตราด โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดปราพม่าบุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดระยอง โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสระแก้ว โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดกาญจนบุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดอุบลราชธานี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดอำนาจเจริญ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดกำแพงเพชร โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดอุทัยธานี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168,สาขาในจังหวัดสมุทรสาคร โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสิงห์บุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสกลนคร โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสุรินทร์ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดศรีสะเกษ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดหนองคาย โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดแม่ฮ่องสอน โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดนครนายก โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดนครปฐม โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดนครสวรรค์ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดเชียงราย โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดเชียงใหม่ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดน่าน โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดพะเยา โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดลำปาง โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดลำพูน โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดอุตรดิตถ์ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดกาฬสินธุ์ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดขอนแก่น โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดตาก โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168,สาขาในจังหวัดมหาสารคาม โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดแพร่ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168,  สาขาในจังหวัดสมุทรสงคราม โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดยะลา โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดนนทบุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดปทุมธานี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดพิจิตร โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดชุมพร โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดตรัง โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดนครศรีธรรมราช โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดนราธิวาส โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดปัตตานี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดพังงา โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168,สาขาในจังหวัดร้อยเอ็ด โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดเลย โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดนครพนม โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดชัยนาท โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดพิษณุโลก โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดเพชรบูรณ์ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดลพบุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสมุทรปราการ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168,สาขาในจังหวัดหนองบัวลำภู โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดอุดรธานี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดมุกดาหาร โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดยโสธร โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดชัยภูมิ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168,  สาขาในจังหวัดจันทบุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168,สาขาในจังหวัดสุโขทัย โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสุพรรณบุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดสระบุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดเพชรบุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดราชบุรี โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, สาขาในจังหวัดกระบี่ โทร.083-2494999 Line ID : @NYC168, 
 
 

OUR CLIENTS

    Enquire about Visa and Translation services.

    Upload here

    Max file size: 100MB
    Max file size: 100MB
    Max file size: 100MB
    Max file size: 100MB
    Max file size: 100MB
    Max file size: 100MB
Submit

SERVICES

  • บริการแปลเอกสารทุกภาษา 300 ภาษา
  • บริการรับรองเอกสารกงสุล
  • บริการรับรองกระทรวงต่างประเทศ
  • บริการทนาย Notary Public
  • บริการรับรองเอกสารโดยสถานทูติ
  • บริการแปลและรับรอง NAATI
  • บริการรับรองเอกสารโดย JP (Justic of the peach)
  • แนะแนวศึกษาต่อต่างประเทศ
  • บริการให้คำปรึกษารับยื่นวีซ่าทุกประเทศทั่วโลกทั้งที่มีสถานทูตในไทย และไม่มีสถานทูตในไทย
  • บริการทำวีซ่าสำหรับชาวต่างชาติ Non-O, Non-B, Work Permit, Visa Extension
  • บริการขอใบตรวจสอบประวัติอาชญากรรม Police clearance certificate, The criminal Records Check (CID)
  • บริการเตรียมเอกสารจดทะเบียนสมรสกับชาวต่างชาติ
  • บริการขอบัตร APEC Card
  • บริการจัดหา Tourist Voucher
  • บริการดูแลประกันการเดินทาง
  • บริการจองและจำหนายตั๋วเครื่องบิน
  • บริการของ LOI (Letter of invitation)
  • จำหน่ายประกันการเดินทางไปต่างประเทศบริษัทไทยวิวัฒน์

​ABOUT US

  • Blog
  • Privacy Policy
  • Refund Policy
  • ​Terms and Conditions

​GET IN TOUCH

Buy now with PayPal
Buy now with PayPal

Talk to us now

NYC Visa Service Co., Ltd.
ติดต่อแผนกวีซ่า

Hotline : 086-4549122
Email : contact@nycvisa.org

Picture
เพิ่มเพื่อน

NYC Translation Co., Ltd.
ติดต่อแผนกแปลและรับรองเอกสาร

Hotline : 081-5620444
Email : contact@nyclanguageinstitute.com

Picture
เพิ่มเพื่อน
NYC School
สถาบันสอนภาษาเอ็นวายซี
Hotline : 064-8618686

Email : nycschool@outlook.co.th
Picture
เพิ่มเพื่อน